ความหมายและการบวชในพระพุทธศาสนา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2558 หน้า 97
หน้าที่ 97 / 140

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงความหมายของคำว่า "ขายสามโบสถ์" ซึ่งมักมีการเข้าใจผิดเกี่ยวกับการบวชในพระพุทธศาสนา โดยกล่าวถึงการบวชหลายครั้งเพื่อเสริมบุญ และการรักษาศีล 227 ข้อที่พระภิกษุจะต้องรักษา นอกจากนี้ยังเสนอแนะแนวทางในการบวชที่เหมาะสมและการเป็นพระที่ดี แม้ว่าจะมีข่าวสารด้านลบเกี่ยวกับวัดพระธรรมกาย ผู้ที่สนใจเพียงแค่ลองมาเข้าใจด้วยตัวเองจะพบว่าโครงการที่นำเสนอมีประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

- ประโยชน์ของการบวช
- การรักษาศีลในพระพุทธศาสนา
- ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการบวช
- ลักษณะของพระที่ดี
- ความสำคัญของการบวชหลายครั้ง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำว่า “ขายสามโบสถ์” ดูเหมือนไม่ค่อยดี ถ้าใครเคยบวชแล้ว เราจะพูดอย่างไรให้เขามาบวชอีก? ขายสามโบสถ์ก็คงไม่ได้ที่บอกบอกเป็นลักษณะที่วางใจบวช แต่บวชแล้วอดทนต่อคำสั่งสอน ไม่ได้ว่านั่นไม่ดีแต่เลยลึกแล้วไปบวชที่วัดใหม่ บวชแล้วก็สึกอีก แล้วก็หวดอื่นบวชอีก ร่อนเร่ไปอย่างนี้ เขาบอกว่าคนอย่างถี่ๆไม่ได้ เอาแต่ใจตนเอง ไม่อยู่ในกรอบพระธรรมวินัยไม่อยู่ในกรอบของหมู่คณะ แต่ถ้ามาบวระยะสั้นด้วยภารกิจของครอบครัว ของการงาน พอครบกำหนดก็ลาสึกภา ตอนหลังจัดเวลาได้มาบวชอีก อย่างน้อยว่าแต่ 3 ครั้งเลย จะเป็น 5 ครั้ง 7 ครั้ง 10 ครั้ง ยิ่งมากครั้งยิ่งดี เป็นการเสริมบุญเสริมบารมีให้มากยิ่ง ๆ ขึ้นไป เคยได้ยินข่าวด้านลบของวัดพระธรรมกาย จะให้นมัจการบวชครั้งนี้ได้อย่างไร? มีสุขาสตว่า “ไม่ใหญ่ด้อมแรง” เมื่อทำงานใหญ่ต้องมีทั้งคนอุดหนุนไม่ชอบเป็นธรรมดาและคนที่ชอบก็มาอยู่เฉย ๆ ไม่ไปดล้องต่อถึงกับใคร แต่คนที่ไม่ชอบหรือได้รับข้อมูลมา คีวิจารณ์กันไปเรื่อยเปื่อย และไม่ผิดไปแก้ความเห็นที่ไม่ถูกต้อง จริง ๆ แล้วบางคนไม่ได้อะไรแต่ได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องมา เลเกิดเป็นภาพที่ยังไม่ใช่ในใจเท่านั้น แต่ได้มาสัมผัสแล้วทุกคนจะว่าดโครงการนี้มีมา เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา เพราะฉะนั้นถ้าใครอยากรู้ว่าเป็นอย่างไร ต้องมาที่ต่าง ๆ บวชพระต้องรักษาศีลถึง 227 ข้อ บางคนก่อนมาบวช คีส 5 ยังไม่ครบเลย จะรักษาได้ไหม? ไม่มีปัญหา ในครั้งพุทธกาลเคยมีพระภิกษามาบวชแล้วกังวลมาก พระวินัยมีน้อย ๆ ข้อ ต้องค่อระวังว่าผิดศีลข้อไหนหรือเปล่า รู้สึกเศรษฐไปหมด เลยไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า จะขอสึกพระพุทธเจ้าร่าว่า ถ้าให้เธอรักษาอย่างเดียวจะรักษาได้ไหม ท่านตอบว่า ได้ พระพุทธเจ้าทรงบอกให้รักษาอย่างเดียวก็รักษาใจ รักษาใจยัง ๆ อยู่ในจุด ยืนกลางกาย พระรูปนี้ตั้งใจปฏิบัติ ลุดท้ายเป็นพระอรหันต์ เพราะฉะนั้นอย่ายกว้า ทุกท่านสามารถปฏิบัติได้ ขอให้หลายกังวลแล้วมาว่าเริ่มเฉิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More