วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2558 หน้า 124
หน้าที่ 124 / 140

สรุปเนื้อหา

สมาธิคือการสร้างความสงบและความสุขให้แก่ตนเองตามคำสอนของพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสิโล) โดยเฉพาะการตั้งสติสมาธิและปัญญาในการดำรงชีวิต ในการฝึกสมาธิเบื้องต้น ผู้ฝึกควรเริ่มจากการเตรียมจิตใจด้วยการกระทำที่ดี ตั้งสังเกตตัวตนของตนเอง รวมถึงการนั่งในท่าที่ทำให้รู้สึกสบายก่อนที่จะตั้งจิตไปที่ดวงแก้วกลมใสเพื่อสัมผัสภาวะสงบใจ ในขั้นตอนต่าง ๆ นี้เน้นความอ่อนน้อมและการสร้างสติในขณะนั่งสมาธิ เพื่อเข้าไปสัมผัสกับความสงบอย่างแท้จริง

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสมาธิ
-ขั้นตอนการฝึกสมาธิเบื้องต้น
-คำสอนของพระมงคลเทพมุนี
-ประโยชน์ของสมาธิ
-วิธีการสร้างสมาธิเล็กน้อย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขของอย่างที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสมาธิและปัญญา อันเป็นเร่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่าย ๆ ดังวิธีปฏิบัติพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสิโล) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษเจริญ เมตตาสอนไว้ดังนี้ ๑. กระบุนขาพระรัตนตรัย เป็นการเตรียมตัวเตรียมใจให้นูนวลไว้เป็นเบื้องต้น แล้วสมาทานศีล ๕ หรือ ศีล ๘ เพื่อย้ำความมันคงในคุณธรรมของตนเอง ๒. คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบาย ๆ ระลึกถึงความดี ที่ได้ทำแล้วในวันนี้ ในอดีต และที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต จนร่างกายทั้งหมดประกอบขึ้นด้วยฤทธ์แห่งคุณงามความดีล้วน ๆ ๓. นั่งพนมมือ ขาวมาถับเข้าหากัน ถือมือทับมือ สิ่งนี้จะมีอำนาจดึงดันหัวใจให้ข่มงวดรั้งหัวใจไว้ในท่าที่ดี ไม่ให้สั่นคลอน แต่อย่าให้หลังโยง หลับตาพอสมควรคล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่บีบกล้ามเนื้อก็นวดหรือบดเคี้ยว แล้วตั้งใจมัน วางอารมณ์สบาย สร้างความรู้สึกให้พร้อมทั้งกายและใจว่า กำลังจะเข้าไปสู่ภาวะแห่งความสงบอย่างยิ่ง ๔. นึกกำหนดนิ่งเป็น “ดวงแก้วกลมใส” ขนาดเท่าด้วกดา ใสบรุติรัศมี ปราศจากรอยติเตียนใด ๆ ขาวใสเย็นตาเย็นใจ ดั่งประกายของดวงดาว ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมมานิยมานิยมายน ๆ นักเหมือนดวงแก้วนั้นมานั่งอยู่ ณ ศูนย์กลางกายเดียวกัน ๕. นึกไปวางไปอย่างนุ่มนวล เป็นพูพอนดีว่า “สมา อะหัง” หรือ ค่อย ๆ น้อมนึกดวงแก้วกลมใสให้ค่อย ๆ เคลื่อนเข้าตู้ศูนย์กลางกายตามแนวราบ โดยเมธีตั้งแต่ต้นตั้งแต่ฐานที่ ๑ เป็นต้นไป น้อมนึกอย่างสบาย ๆ ใจเย็น ๆ ไปพร้อม ๆ กับคำว่า ดัง เมื่อมือนิดงแก้วกลมใสปรากฏแล้ว ณ กลางกาย ไหวอารมณ์สบาย ๆ กับมือนั้น จนเหมือนกับว่าวาดมิดเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์ หากดวงนิดมิดนั้นอนตราตนหายไป ก็ไม่ต้องนึกเสียใจ ไหวอารมณ์สบาย แล้วนึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือเมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อื่น ที่มีศูนย์กลางกาย ให้ค่อย ๆ น้อมนิมิตเข้าสามารถค่อยเป็นค่อยไป ไม่มีการบังคับ และเมื่อ นิมิตมายุตินิณ ณ ศูนย์กลางกาย ให้รำสติลงไปยังจุดศูนย์กลางของดวงนิมิต ด้วยความรู้สึกคล้ายมีดวงดวงดวงเล็ก ๆ อีกดวงหนึ่ง ช้อนอยู่ตรงกลางดวงนิมิตดวงเดิม แล้วสนใจแต่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More