ธรรมธารา: วัฒนาวิชาทางพระพุทธศาสนา Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์(3) หน้า 17
หน้าที่ 17 / 36

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงธรรมธาราและความสำคัญของการศึกษาพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการวิเคราะห์สังข์และกรรมในแง่ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้นและการดับทุกข์ การพิจารณาความหมายของคำศัพท์ที่สัมพันธ์กับธรรมชาติของสังข์และการเกิดขึ้นของวิบากซึ่งอาจอธิบายได้จากเหตุและปัจจัยต่างๆ โดยเนื้อหายังเชื่อมโยงไปถึงการแปลและความหมายจากภาษาสันสกฤตและจีน เช่นเดียวกับการอธิบายถึงการตายที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของบุญ ดังนั้น แนวคิดเหล่านี้จึงมีความสำคัญในการทำความเข้าใจธรรมในพระพุทธศาสนาได้อย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น. สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-พระพุทธศาสนา
-ธรรมธารา
-สังข์
-กรรม
-วิบาก
-การตีความสันสกฤต
-ความตายและบุญ
-การศึกษาในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธารา วัฒนาวิชา ทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 6) ปี 2561 [3] เพราะหากพิจารณาในแง่ว่า สังขSWทั้งหลายเป็นการตั้ง ขึ้นมา [ชั่วคราว เกิดจากเหตุและปัจจัยที่อา้ ย ซึ่งกันและกัน [จึงมีชื่อว่า] ทุกข์ [ดังนั้น ควรเข้าใจว่า]ไม่ใช่ภาระทำของบรรษ [4] ไม่มีการตายที่ไม่สมควรแก่เวลา [เพราะการตายสามารถเกิดขึ้นได้ทุกขณะ เป็นผลที่]ได้รับจาก[เหตุ คือ] บุพพกรวม [ที่สร้างขึ้นมา15] [5] การเกิดขึ้นของวิบากเกิดจากเหตุของกรรมที่เพิ่มขึ้น16 [6] เพราะเต็มเปี่ยมไป17 ด้วยบุญทั้งหลาย จิรงบรรลุ [อรัย] มรรค, (เชิงอรรถต่อจากหน้าที่แล้ว) ทั้ง 3 จำนวน ที่แปลว่า ทจริง, 成就, ตามลำดับ เห็นคำศัพท์ในต้นฉบับของคัมภีร์ SBh มาจากถาฏวติ (vid) หรือไม่ ถาดู วิท (vid) มีการใช้ในความหมายต่างๆ ได้แก่ ใช้ในความหมายว่า รู้ เข้าใจ ในอธิบายหนวดที่ 2 ของภาษาสันสกฤต หรือในอธิบาย หมวดที่ 6 ใช้ในความหมายว่า แสดงหา แต่มีในกรณีนี้เป็น passive หรือจะมองว่าเป็นถาฏุหมวดที่ 4 ก็จะว่าเป็น, อยู่, คือ, ต่างอยู่ ซึ่งในจำนวนเปลี่ยนทั้งหมวดจะตรงกับถาฏ วิท ในความหมาย ลำดับสุดท้าย และในจำนวนแปลว่า X ทาง Teramotto เห็นว่าแปล มาจาก คำว่า avidya แต่หากพิจารณาจากจำนวนแปลจีนที่เลยคล้ายกับแปล มาจาก na vidyante อย่างใrånถิ ดาม คงยากที่จะหาข้อสรุปในกรณีที่กล่าวมาในเวลานี้ได้ จะทราบแต่เพียงว่าคำศัพท์ดังกล่าวเหล่านี้ในทุกจำนวนแปลทั้งปจีนและพากย์เป็นคำศัพท์มาจากถาฏุ วิท15 X: 無非時死. 先業所得; Pm: 無非時節死. 一切所得先造; A: 無黃死จากงาน所得。 17 พานนากรมิเทบิด-สันสกฤต (โดยJ.S. Negi) ให้การอธิบายว่า คำว่า ทฤษฏูอสมงูร จามจากคำศัพท์ที่สนสกฤตคือ 1) paryava √ap หรือ pary √ap 2) avasitam (อ่านเชิงอรรถในหน้าต่อไป)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More