ธรรมธารา: พระโพธิสัตว์และนิยายทางพระพุทธศาสนา Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์(3) หน้า 19
หน้าที่ 19 / 36

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของนิยายในพระพุทธศาสนา โดยมีการกล่าวถึงพระโพธิสัตว์และการแปลของนิยายต่าง ๆ เช่น นิยายไดโทกะ นิยายอุปโมะ และความแตกต่างของแต่ละเวอร์ชันการแปล รวมถึงมุมมองของ Teramoto ที่ต้องการให้มีการปรับแก้การแปลเพื่อให้ถูกต้องมากขึ้น เนื้อหาดังกล่าวแสดงถึงความละเอียดและความซับซ้อนของการศึกษาพระพุทธศาสนา โดยอ้างอิงข้อมูลจากคัมภีร์อรรถาบาย.

หัวข้อประเด็น

-พระโพธิสัตว์
-นิยายในพระพุทธศาสนา
-การแปลและการศึกษา
-มุมมองทางวิชาการ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธารา วรรณวิชาชีวาทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 6) ปี 2561 1 พระโพธิสัตว์ไม่หลุดพ้นจากทุกข์21 (เชิงอรรถต่อจากหน้าที่แล้ว) • จำนวนแปลของพระเสวยจัง (x) กล่าวถึง 3 นิยาย ได้แก่ นิยายไดโทกะ นิยายอุปโมะ นิยายอุตตรโค • จำนวนแปลของพระปฐมูฒ (Pm) กล่าวถึง 2 นิยาย ได้แก่ นิยายไดโทกะ นิยายอุตตรโค • จำนวนแปลสุดท้าย (A) กล่าวถึง 3 นิยาย ได้แก่ นิยายไดโคะ นิยายอุตตรโคะ จำนวนแปลจีน x และ A ไม่มีความแตกต่างกัน ส่วนจำนวนแปลจีน Pm แตกต่างจาก 2 จำนวนข้างต้น but คาดว่า นิยายไดโทกะ และนิยายอุปโมะมีความเกี่ยวข้องกัน ส่วนจำนวนแปลญี่ปุ่น ไม่มีคำแปลในที่นี้ แต่ได้อ้างมาจากคัมภีร์อรรรถาบายของท่านวินิตเทวะ ซึ่งมีความแตกต่างกับทุกบับคือ เพิ่มเติมนิยายปุราวตะ เข้ามา ซึ่งก่อนหน้านี้ในหัวข้อการแตกแขนก้างด้านสาขาของนิยายมหาสมุทรก็ไม่ได้กล่าวถึงนิยายปุราวตะ ดูรายละเอียดที่ เมรี พิพิธธรรม (2559: 65-68) 21 X: 諸菩薩不離惡趣; Pm: 苦薩不離惡道; A: 苦薩離惡趣 (Ter: 苦薩(不)離惡趣) ไม่มีประโยชน์ในทางทับทิมแต่ได้อ้างข้อมูลจากคัมภีร์อรรรถาบายของท่านวินิตเทวะ Teramoto ให้ความเห็นว่า เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวนแปลจีนที่เหลือควรปรับแก้โดยใส่คำว่า 不ในจำนวนแปล A กล่าวคือ 苦薩(不)離惡趣 ทั้งนี้เป็นไปได้ว่า เป็นความผิดพลาดมาจากต้นฉบับที่แปลไว้ได้หรือมาจากผู้แปลก็ได้ หรือว่า ในสมัยของจำนวนแปล A มีแนวคิดว่าจริงแต่ต่อมามีความเปลี่ยนไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More