ข้อความต้นฉบับในหน้า
Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (3) 107
An Annotated Translation of the Samayabhedoparacanacakra into Thai (3)
(เชิงอรรถต่อจากหน้าที่แล้ว)
อายตนะ ดังนั้น Teramoto จึงชำระส่วนแปลเป็น諭[処]不成 โดยใส่คำว่า
処 เข้าไป
Teramoto แปลคำว่า มัจจุราช เป็นภาษาญี่ปุ่นว่า 不正 หมายถึง
ไม่ถูกต้อง, ไม่ตรง โดยใส่ในวงเล็บกำกับว่ามาจากภาษาสันสกฤตคำว่า
avidyä แต่ในฉบับพากย์บันทึกว่าชำระโดย Teramoto กลับใช้คำว่า มัจจุราช
ซึ่งในครั้งแรกที่พบ อาจจะคิดว่าเป็นคำผิด เมื่อ scrutinize จากพจนานุกรม
ทิบด-อังกฤษ ฉบับของ Jaschke พบว่า มีคำอธิบายดังนี้ “มัจฉุ”
often error for ริษฎ์ rig-pa” ซึ่ง Teramuto เองก็ได้อ้างคำอธิบายของ Jaschke
โดยเขียนอธิบายไวในเชิงอรรถวิเคราะห์ นอกจากนั้น ยังเทียบเคียงกับ
สำนวนแปลจีน x เพื่อแสดงให้เห็นถึงคำแปลที่ว่า 謬誤 ตรงกับคำแปล
ทิบว่า มัจจุราช
จากความเห็นของ Teramoto ข้างต้นก็ยังหาข้อสรุปไม่ได้ว่าด้วยเหตุใด ในคำแปลจึงใส่คำว่า มัจจุราช ไว้ในวงเล็บ ซึ่งแย้งกับต้นฉบับ
ทิบที่ชำระโดย Teramoto กลับใช้คำว่า มัจจุราช และก็ไม่มีคำอธิบาย
เชิงอรรถใน การชำระ ทั้ง ๆ สำนวนฉบับของ Peking ใช้คำว่า มัจจุราช
เมื่อพิจารณาคำแปลของนักแปลท่านอื่น อาทิ Walleser
นักวิชาการชาวเยอรมัน แปลว่า ผัสสะ ตามสำนวนแปลฉบับ Peking
ที่ใช้คำว่า มัจจุราช ส่วน Vassiliéf แปลจากคำว่า มัจจุราช จากข้อมูลข้างต้น
หากแปลตามต้นฉบับที่ใช้คำว่า มัจจุราช ส่วน Walleser แปล ก็จะไม่ได้ความ
ดังนั้น Vassiliéf คงตะหนักถึงความผิดพลาดของสำนวนแปลในถิ่น
ดังกล่าว จึงชำระเป็น “อมฤต” และแปลคำนี้ว่า “incomprehensibles”
นอกจากนั้น เมื่อเทียบกับพากย์จีนทั้ง 3 สำนวน พบว่า
ควรชำระเป็นคำว่า มัจจุราช เนื่องจากมีแนวโน้มว่า ผู้แปลภาษาจีน
(อ่านเชิงอรรถในหน้าต่อไป)