ธรรมะและการทำงานของประสาทในพระพุทธศาสนา พุทธิปัญญากับการปรับสมดุลชีวิต หน้า 11
หน้าที่ 11 / 34

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจเกี่ยวกับการทำงานร่วมกันของประสาททั้ง 5 และทางใจในพระพุทธศาสนา โดยอธิบายแต่ละขั้นอย่างละเอียด รวมถึงการอธิบายชีวิตตามแนวทางฤดู 6 ที่สัมพันธ์กับพระอภิธรรม นอกจากนี้ยังระบุถึงปรมัตถธรรม 3 อย่าง ได้แก่ รูป จิต และเจตสิก ปรมัตถธรรมนี้เป็นพื้นฐานของชีวิตที่มี 28 ลักษณะในรูป, 89 หรือ 121 ลักษณะในจิต, และ 52 ลักษณะในเจตสิก โดยเน้นความสำคัญของการเข้าใจการทำงานของประสาทเพื่อความเข้าใจในชีวิตและธรรมะ

หัวข้อประเด็น

-การทำงานของประสาท
-ทางใจในพระพุทธศาสนา
-ฤดู 6
-ปรมัตถธรรม
-ชีวิตในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมะ วาทะวิทยากรทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) 2562 ทางประสาททั้ง 5 และทางใจ คือ การเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การรู้รส การสัมผัสทางกาย และการรู้จามทางใจ4 ขั้นแต่ละขั้นทำงานร่วมกันแบบองค์รวมจไม่สามารถแยกออกได้อย่างง่ายและเห็นได้ง่าย มีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นหนาทำหน้าที่อยู่ งเป็นอัตโนมัติ เมื่อพิจารณาโดยลำดับจะโดยแยกโดยแยกโดยวิธีวิปัสสนา ก็จะเห็นการทำงานของแต่ละขั้นได้ นอกจากชีวิตแสดงพฤติการณ์ตามขั้นนี้ 5 แล้ว ในคัมภีร์พระพุทธศาสนายังได้แสดงชีวิตไว้ตามแนวของฤดูด้วย เรียกว่า ฤดู 6 ดังข้อความในทุติรูวามคล้ายว่า ดูภิกษุทั้งหลาย ชีวิตมนุษย์มีฤดู 6 นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูภิกษุฤดูนี้มี 6 อย่างคือ 1) ปฐวีธาตุ คือ ฤดูดิน2) อภิปฐวี คือ ฤดูน้ำ 3) เตโชธาตุ คือ ฤดูไฟ 4) วาโยธาตุ คือ ฤดูลม 5) อากาสธาตุ คือ ฤดู ว่างเปล่า 6) วิญาญาณธาตุ คือ ฤดูรู้อารมณ์ มี 6 อย่าง คือ (1) จักขวิญญาณธาตุ (2) โสตวิญญาณธาตุ (3) มานวิญญาณธาตุ (4) ชิวหาวิญญาณธาตุ (5) กายวิญญาณธาตุ (6) มโนวิญญาณธาตุ6 ชีวิตตามแนวอภิธรรมนี้เรียกว่า ชีวิตเป็นปรมัตถธรรม 3 อย่างได้แก่ รูป จิต และเจตสิก ในส่วนรูปนี้มี 28 ลักษณะ จิตนั้นมี 89 หรือ 121 ลักษณะ และเจตสิกนี้มี 52 ลักษณะ7 ชีวิตย่อมดำเนินไปได้ด้วย 4 พระพรหมคุณาภรณ์ (2557: 14) 5 ม.ฎ. 14/167/98 6 อกิ ว. 35/129/75 7 พระคัมภีรภาววิก (2552: 1)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More