ข้อความต้นฉบับในหน้า
66 ธรรมะ
วาสนา วิถีทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562
การปรับสมดุลชีวิตในขั้นสุดท้ายทำให้ชีวิตดำรงอยู่ในพระนิพพาน คือ การดับเย็น เป็นความสุขสงบที่ประณีตสูงสุด ชีวิตที่มีความสมดุลจึงเป็นชีวิตที่มีความสุข ผู้ที่มีชีวิตที่เข้าสู่อภิวิภัรได ย่อมชื่อว่า มีความสุขอย่างยิ่ง เป็นความสุขที่เข้าไปถึงส่วนลึกภายในตน ไม่อาจแสดงหาได้ออกนอก แต่หากจกเข้าสู่ภายนอกภายที่ไม่จริงแต่เสมือนจริงมากเท่าใด ความสุขที่แท้ก็หายโกลาหลมากขึ้นเท่านั้น
กิเลสที่หมดออกไปจากตน หรือเบาบางออกไปจากชีวิต ย่อมทำให้ชีวิตมีความสมดุล ไม่ต้องตกอยู่ภายในอำนาจกิเลสเหล่านั้นอย่างเต็มที่ ชีวิตมีอิสระที่จะทำ PREC คิด ดำเนินชีวิต สัมผัสบุญะ เพียงเบาบางจากโลกธรรม เบาบางจากกุศลกรรมทั้งหลาย ชีวิตก็มีความสุขขึ้นมาก กิเลสเหล่านี้จะหายไป หรือบางเบาไปก็ด้วยปัญญา ที่เข้าไปบด หรือเข้าไปปรับ ระเห็นแจ้งในกิเลส แล้วหลายกิเลสเหล่านี้จะหายไป
7. ผลแห่งการมีชีวิตสมดุล
การที่ผู้คนหลงไหลติดดีในความสุขอันเกิดจากกาม คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผนจูพระ ที่ได้มาจากการสร้างของอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีโลก เสมือนจริง ก็เพราะเขาไม่มีสุขอันที่สามารถเข้าสามารถเข้าเปรียบเทียบได้ ต่อเมื่อได้ใช้กระบวนการฝึกให้เกิดจิตวิญญาณ 3 ระดับ จึงเข้าใจได้ว่า สุขอันเกิดจากกาม สุขอันเกิดจากอุปกรณ์กล่อมทางประสาทสัมผัสนั้นเป็นเพียงสุขอันน้อยนิด แต่มีโทษมาก
ชีวิตสมดุลย่อมทำให้เกิดความสงบสุขควบกับธรรมชาติไปด้วย เพราะชีวิตที่สมดุลย่อมเกิดจากความสมดุลแห่งธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมไม่สมดุล ชีวิตก็หาความสมดุลไม่ได้nga ดั่งนั้น