พุทธภิญญากับการปรับสมดุลชีวิต พุทธิปัญญากับการปรับสมดุลชีวิต หน้า 20
หน้าที่ 20 / 34

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการปรับสมดุลชีวิตด้วยพุทธภิญญา โดยเน้นการสร้างความสมดุลทางกายภาพและจิตใจผ่านการอยู่กับธรรมชาติ การปฏิบัติกรรมฐานในสถานที่สงบ เช่น ป่าและภูเขาจะช่วยเสริมสร้างพลังธรรมชาติ ทำให้ร่างกายและจิตใจมีความสมดุลและลดความเสี่ยงของโรคภัยไข้เจ็บ นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงอันตรายจากมลภาวะและเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์

หัวข้อประเด็น

-พุทธภิญญา
-สมดุลชีวิต
-ธรรมชาติและสุขภาพ
-วิธีการปฏิบัติ
-ผลกระทบจากมลภาวะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พุทธภิญญากับการปรับสมดุลชีวิต Buddhi-Pañña for Life Adjustment ในประเด็นของการปรับสมดุลชีวิตทางกายภาพด้วยกายวาจาเป็นกระบวนการสืบเนื่องจากข้อความที่แสดงแล้วข้างต้น เพราะการทำกายวจีคือการพักผ่อนกายที่ทำให้กายสมดุลในที่นี้พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในพระสูตรต้นปิฏก ทุกเทศกาลว่า ภายวจีเป็นไฉน? กิเลสในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมช่องเสพบเสนาะอันสงัด คือปัป โคต้นไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้าป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง และเป็นผังสร้างด้วยกายายอยู่คือ เดินผู้เดียว ยืนผู้เดียว นั่งผู้เดียว นอนผู้เดียว เข้านบ้านเพื่อบำบัดผู้เดียว กลับผู้เดียว นั่งอยู่ในที่ร้อน นั่งผู้เดียว อธิษฐานงกรมผู้เดียว เป็นผู้เดียว เที่ยวอยู่ เปลี่ยนอิริยาบถ ประพฤติกิริยาเป็นไป ให้เป็นไปชื่อว่า กายวจี14 การได้อยู่กับธรรมชาติเกิดขึ้น มีภูเขา ต้นไม้ ถ้ำ ลำธาร เป็นกายภาพสิ่งแวดล้อม จะทำให้กายได้รับพลังธรรมชาติกายของมนุษย์นั้นเป็นกายธรรมชาติ ถ้าได้อยู่กับธรรมชาติทำให้เสลดในร่างกายนั้นมีความสมดุล การส่งจิตออกไปตามสิ่งวุ่นวาย ได้แก่ คณะ สัตว์ สิ่งของ อุปกรณ์เทคโนโลยี จะยิ่งทำให้กายภาพไม่เป็นระเบียบ ภาวะสมดุลของเลือดลมในกายก็ไม่เป็นระเบียบ ทำให้เกิดโรคภัยไขเจ็บได้ง่าย ยิ่งได้ใกล้ที่อยู่กับสารเคมี อยู่กับมลภาวะเป็นพิษ อยู่กับเครื่องยนต์มากๆ สภาพความไม่สมดุลของร่างกายจะได้รับการกระทบสูงมาก เมื่อได้ตามวิญญาณที่ส่งออกนอกตนตามอายุตนสันสนวุ่นวายมาก กายภาพก็ได้รับผลกระทบอย่างตามไปด้วย 14 ขุ ม. 29/7/32
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More