ธรรมธาร: สื่อสารทางพระพุทธศาสนาเพื่อความสมดุลของจิต พุทธิปัญญากับการปรับสมดุลชีวิต หน้า 31
หน้าที่ 31 / 34

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการบริหารอธิษฐาน การจัดสิ่งแวดล้อม และวิธีการบรรเทาความกดดันทางจิตในชีวิตที่เต็มไปด้วยความไม่สมดุล ความสุขที่หลอกซึ่งเกิดจากเทคโนโลยีทำให้คนหลงเข้าไปในสภาวะทางจิตที่ไม่ถาวร การปฏิบัติในพระพุทธศาสนาจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้คนสามารถแยกแยะความจริงจากภาพลวงและฟื้นฟูสมดุลที่หายไป โดยการปลดปล่อยจากการยึดติดและเสริมสร้างพลังในจิตใจ สัมมาทิฐิและการเห็นแจ้งจะช่วยให้เข้าใจถึงไตรลักษณ์และพัฒนาชีวิตที่มีความสุข

หัวข้อประเด็น

-การบริหารอธิษฐาน
-การจัดสิ่งแวดล้อม
-ความสมดุลของจิต
-เทคโนโลยีและความสุข
-หลักวิภาคในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

68 ธรรมธาร วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวบรวมที่ 8) 2562 ภายวิภาค จิตตวิภาค อุปวิภาค • ภายสมดุลด้วย การบริหารอธิษฐาน • สิ่งแวดล้อมสมดุลด้วย การจัดสิ่งแวดล้อมให้ เอื้อประโยชน์ • จิตสมดุลด้วยสมณภาวิสสนา • กิเลสไม่ส่งผลกระทบด้วย การกดทับด้วยความ • ปัญญาสมดุลด้วยการเห็น แจ้งไตรลักษณ์ • อิทธิฐานเครื่องร้อยรัดด้วย การบรรเทา เบาบาง หลุดพ้น จากสงโยชน 8. สรุป เมื่อได้ตามที่มนุษย์หลงเข้าไปสู่บรรยากาศแห่งความสุขหลอกๆ ที่เกิดจากกามทั้งหลาย ความสุขอันเกิดจากโลกเทคโนโลยีทั้งหลาย สภาวะทางจิตย่อมสูญเสียความสมดุล จิตเช่นนี้ก็จะค่อยๆ เวียน ครุ่นคิด อยากได้ อยากมี อยากเป็น ไม่อยากได้ ไม่อยากมี ไม่อยากเป็น อันเกิดจากภาพในโลกสมมติจริง โลกสมมติ โลกแห่งการยึดติด เขาจะไม่สามารถทราบความถูกต้องได้ ชีวิตของเขาสิ้นสมดุลอยู่ ไม่รู้ ความจริง หรือความเสมือนจริง ชีวิตที่เสียสมดุล หรือชีิวิตเสียศูนย์อ่อน นำไปสู่ความผิดพลาดได้ง่าย ไร้พลังแห่งการจะบังคับยับยั้ง ถูกแทกแซงด้วยไวรัสอุกฤษได้ง่าย กระบวนการปฏิบัติภายหลักวิภาคในพระพุทธศาสนา จึงเป็น เครื่องมือช่วยถอดถอนมามาแห่งสมมติออก ถอดถอนโลกลสมินจริง แหง่เทคโนโลยีออก บรรยากาศแห่งธรรมชาติที่แท้ พลังยานุปิตร พลังแห่งสติ สัมปชัญญะและความเพียร จะช่วยคลายเครื่องผูกมัดทั้งมวลออก เมื่อคลายออกมากๆ ตนเองก็หลุดรอดออกจากเครื่องร้อย รัดแห่งเทคโนโลยีเหล่านั้น เป็นอิสระพ้นจากสิ่งที่ผูกมัด มองสิ่งเหล่านั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More