ธรรมธารา: การทำความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกุฬ พุทธิปัญญากับการปรับสมดุลชีวิต หน้า 17
หน้าที่ 17 / 34

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงคำสอนทางพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับกิจกุฬ 4 ประการ ที่ส่งผลต่อความเข้าใจผิดในชีวิต เช่น ความเชื่อที่ผิดเกี่ยวกับความสุขและเงินทอง นอกจากนี้ยังวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้ชีวิตเสียสมดุล รวมถึงผลกระทบที่เกิดจากการขาดปัญญาและการมองคนเป็นวัตถุ สุดท้ายเสนอแนวทางการปรับสมดุลให้กลับคืน ซึ่งจะช่วยลดปัญหาสังคมและส่งผลต่อการดำรงชีวิตที่ดีขึ้น ดูเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-กิจกุฬ 4 ประการ
-การเข้าใจผิดในชีวิต
-ความเป็นจริงและสุข
-การปรับสมดุลชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) 2562 กิจกุฬทั้งหมด สัญญาวิวาส สติ วิวาส ทิกิจิวาส มี 4 อย่างดังนี้; 4 อย่าง อะไรบ้าง? (กล่าวคือ) 1. สัญญาวิวาส จิตตวิิวาส ทิกิจิวาส ในสิ่งไม่เทียง ว่าเที่ยง 2. สัญญาวิวาส จิตตวิิวาส ทิกิจิวาส ในสิ่งที่เป็นทุกข์ว่ามันสุข 3. สัญญาวิวาส จิตตวิิวาส ทิกิจิวาส ในสิ่งมีโสตตนว่าตนตน 4. สัญญาวิวาส จิตตวิิวาส ทิกิจิวาส ในสิ่งที่ไม่งาม ว่างาม ความเข้าใจผิดเพี้ยนจากความเป็นจริงใน 3 เรื่อง 4 ประเด็นนี้เกิดจากปัญหาที่เสียสมดุลไป เมื่อปัญญาเข้าใจผิด คลาดเคลื่อนอย่างนี้ ย่อมนำมาซึ่งปัญหาตามมาด้วยมาก เช่น เชื่อว่ามีเงินแล้วจะมีความสุข มีทรัพย์สมบัติมีมาก แล้วจะมีความสุขได้ครอบครองนำพาแบบเต็มเต็ม ดีดขาดแล้วจะมีความสุข ได้สนองความต้องการทุกอย่างแล้วจะมีความสุข นั่นก็ทำให้ชีวิตทางด้านปัญญาเสียสมดุลไปอีกมาก ชีวิตที่เสียสมดุลกล่าว ย่อมเกิดผลกระทบต่อปัญญาตะหนักรู้ว่าจะดำรงชีวิตให้สมดุลได้ มนุษย์ก็ขาดปัญญาเข้า ถึงความจริงได้ สัญญาวิวาสความรู้ที่จะปรับสมดุลให้กลับคืนมาได้ เมื่อเป็นเช่นนี้ สังคมก็มีแต่เสื่อมโทรม อาชญากรรมมีมากขึ้น ความแตกแยกทางสังคมมีมากขึ้น ความเห็นแก่ตัวมีมากขึ้น การออราเปรียบเทียบมีมากขึ้น การมองคนด้วยกันเป็นเพียงวัตถุถูกเคลื่อนที่ได้มากขึ้น สังคมก็เสียสมดุลอย่างเกิดปัญหา มากมายไม่สามารถจะแก้ปัญหาได้ถูกต้อง เพราะแก้เองอย่างนี้ก็ทำให้เกิดปัญหาอีกหลายอย่างตามมา เปรียบเทียบกับที่เสียศูนย์ ไม่ว่าจะ แก้ปัญหาที่อะไรต่อใดก็ไม่ทำให้ดีขึ้น นอกจากไปดึงศูนย์ใหม่ ปัญหาต่างๆ จึงจะเริ่มหมดไป ชีวิตก็เช่นกันถ้าสียสมดุลก็ย่อมมีแต่ปัญหา ______________________ 10 องค์ ฤดูก.... 21/49/66; ชูปฐม. 31/525/417
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More