ธรรมหรรา พุทธิปัญญากับการปรับสมดุลชีวิต หน้า 19
หน้าที่ 19 / 34

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการปฏิบัติด้านจิตใจเมื่อดำเนินการต่างๆ เช่น การนั่ง การเดิน และการนอน โดยเน้นการมีสติและความถูกต้องตามแนวคำสอนของพระพุทธเจ้า การนั่งสมาธิต้องมีสติและร่างกายต้องตั้งตรง รวมถึงการนอนที่ถูกวิธีตามที่พระองค์ได้ตรัสไว้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อจิตใจและสุขภาพ งานในด้านการพิจารณาความเป็นอยู่ของร่างกายเป็นสิ่งสำคัญในการเข้าใจธรรมชาติของชีวิตและความเป็นจริง

หัวข้อประเด็น

-การนั่งสมาธิ
-การมีสติ
-การปฏิบัติธรรม
-จริยธรรมในพระพุทธศาสนา
-การดำรงชีวิตตามธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมหรรา วาสนา วิชาวิจารณ์ทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) 2562 อธิบายตนหนึ่ง ย่อมทรงบริหาร คือยิ่งทรงอธิภาพให้เป็นไปมิให้สุดโทษ นอกจากการผลิตเปลี่ยนอธิษฐานให้มั่งเสมอแล้ว ในแต่ละอธิษฐานจะต้องมีความถูกต้องอีกด้วย จึงจะไม่ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งการนั่ง เดิน ยืน และนอนในการนั่งโดยเฉพาะนั่งสมาธินั้นจะต้องนั่งให้ “ตัวตรง” ดังพระดำรัสว่า “นิยมในธรรมวินัยนี้… นั่งคู่บัลลังก์ ตั่งกายตรง” ดำรงสติบ่ายหน้า สูกรกรรมฐาน… ส่วนการนอนหรือจำนวตั้นพระองค์คือ ตรัสสอนให้นอนแบบบารมีสีคือนอนตะแคงขวา ประการสำคัญไม่ว่าจะเป็นอธิษฐานไหนก็ต้องมีสติทำกับแผน จึงเป็นการบริหารอธิษฐานไปด้วยปฏิบัติจรรยาลงไปด้วย ดังข้อความในมหาสติปฐที่ว่า กิณุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง กิณุเมื่อเดิน ก็ชัดว่า ‘เราเดิน’ เมื่อยืน ก็ชัดว่า ‘เรายืน’ เมื่อนั่ง ก็ชัดว่า ‘เว้นั่ง’ หรือเมื่ออนนก็ชัดว่า ‘เรานอน’ กิณุนั้น เมื่อดำรงกายอยู่โดยอาการใดๆ ก็ชัดกายที่ดำรงอยู่โดยอาการนั้นๆ ด้วยวิธีนี้ กิณูย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในอยู่ พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกอยู่ หรือพิจารณาเห็นกายในกายภายนอกในทั้งภายในและภายนอกอ ยู่ก็พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกอยู่ก็พิจารณาเห็นธรรมเป็นเหตุเกิดในกายอยู่พิจารณาเห็นธรรมเป็นเหตุเกิดในกายอยู่หรือพิจารณาเห็นทั้งธรรมเป็นเหตุเกิด ทั้งธรรมเป็นเหตุดับในกายอยู่ หรือว่ากิณุนี้มีสติปรากฏอยู่เฉพาะหน้าว่า ‘กายมืออยู่’ ก็เพียงเพื่ออาศัยจริบาน เจริญสติเท่านั้น ไม่อาศัย (ต้นพระและทิวฤทธิ์) อยู่และไม่อาศัยมันต่อนะไรๆ ในโลก กิณูทั่วย่อมพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ อย่างนี้แล้ว 12 ม.ม. 14/288/164 13 ที่ม. 10/375/304
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More