ข้อความต้นฉบับในหน้า
พุทธภิญจังก้านการปรับสมดุลชีวิต
Buddhi-Pañña for Life Adjustment
อุปปติวิภาคเป็นไง? กิเลสก็ดี ขั้นก็ดี อภิธรรมก็ดี เรียกว่าก็ อุปปติ อมตะ นิพพาน เรียกว่าอุปปติวนาได้เกณฑ์เป็นที่ระงับสงบ ทั้งปวง เป็นที่สักคืนอุปปติทั้งปวง เป็นที่สำอางเป็นที่ดับ เป็นที่ออกไปจากตัณหาเป็นเครื่องร้อนรัด นี้คือว่าอุปปติวิภาค กายวิภาค ย่อมมีแกบุคคลผู้มีกายหล่อออกแล้ว ยินดีอย่างในเนกขัมมะ จิตติดเวทย่อมมีแกบุคคลผู้มิจฉาสุขติก็ตาม ซึ่งความเป็นผู้มีจิตผ่องแจ้งอย่างยิ่ง อุปปติวิภาค ย่อมมีแกบุคคลผู้หมดอุปปติถึงซึ่งนิพพานั่นเป็นวิมงคล
อุปปติวิภาคเป็นการตรึกยู่ในวิภาวั้ง 5 คือ ตรงควิภาวิก วิขมินวิภาวิก สมุจเฉวิภาวิก ปฏิสัสวิภาวิก นิสมสภาวิก สุดของวิภาวะที่สมุจเทเทวิภาวิก คือ ความสงบอย่างสิ้นเชิง ส่วนในบททุกนิกาย อิติปุตตะ พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงให้เห็นว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายยอดดำรงอยู่ในวิภาวิตและชมวิภาวิต ดังข้อความว่า
กิญจังหลาย วิค 2 ประการ คือ เมฆติและวิภาวิตกย่อมแผ่ผ่านไปยังตาตาคตลอดรันสมมาสุมพุทธเจ้าเป็นอันมาก ตาตาคตพอใจความไม่เบียดเบียน ยินดีความไม่เบียดเบียน วิภาวิตนั้นแลแผ่ผ่านไปยังตาตาคตผู้พอใจความไม่เบียดเบียนดีในความไม่เบียดเบียนเป็นอันมากว่า “เราไม่เบียดเบียนสัตว์ใดๆ ทั้งที่ยังมีจิตหวาดสะดุ้งหรือมีจิตมันคงด้วยการทำนี้”
24 ขู.ม. 29/7/34
25 ขู.อิติ.อ. 38/164
26 ขู.อิติ. 25/38/385