พระมหากัจจายะนะ: การเหยียดผิวในพระไตรปิฎก วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2556 หน้า 40
หน้าที่ 40 / 119

สรุปเนื้อหา

การเหยียดผิวเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์มนุษยชาติที่มีมายาวนานและปรากฏในพระไตรปิฎก การแบ่งแยกชนชั้นนำไปสู่ความรุนแรงและทุกข์ทรมาน ต่อมามีการเล่าถึงพระมหากัจจายะนะ ซึ่งเกิดมาพร้อมลักษณะพิเศษและได้ศึกษาพระไตรปิฎก จนเมื่อพระเจ้าจุฬาโพธิ์ทรงประสงค์ให้ปุโรหิตกัจจายนะไปพบพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อเรียนรู้พระธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การเหยียดผิว
-การแบ่งแยกชนชั้น
-พระมหากัจจายะนะ
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา
-พระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๘ เรื่องจากพระไตรปิฎก เรื่อง : มาตา พระมหากัจจายะนะ ๑ การเหยียดผิว (Racism) เป็นสิ่งที่เคียงคู่กับประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ตลอดมา แม้ในพระไตรปิฎกก็มีหลักฐานว่า มนุษย์มีการแบ่งแยกชนชั้นวรรณามาตั้งแต่ ยุคต้นกับ โดยมีจุดเริ่มต้นจากมนุษย์ที่มีผิวพรรณามเหี่ยวยามมนุษย์ที่มีผิวพรรณทราม การเหยียดผิวและการแบ่งแยกชนชั้นวรรณามเป็นสาเหตุแห่งความรุนแรงและก่อเกิดความทุกข์ ทรมานแก่เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ตั้งแต่ระดับเล็กน้อย ปานกลาง ไปจนกระทั่งหนักหนาสาหัส ดังเช่น ศาสนาภาพของประชาชนที่มีผิวพรรณคล้ำ (ขนเผลิลักษณะ) ที่อยู่ในวรรณะสุดของอินเดีย และชนผิวสี ในประวัติศาสตร์ของประเทศรามักมีคำกล่าวลาอันเดียว และแทนผิวสีในประวัติศาสตร์ของประเทศรามักมีคำกล่าวลาอันเดียว และแทนผิวสีในประวัติศาสตร์ของประเทศรามักมีคำกล่าวลาอันเดียว และแทนผิวสีในประวัติศาสตร์ของประเทศรามักมีคำกล่าวลาอันเดียว และแทนผิวสี ในประวัติศาสตร์ของประเทศรามักมีคำกล่าวลาอันเดียว และแทนผิวสีในประวัติศาสตร์ของประเทศรามักมีคำกล่าวลาอันเดียว และแทนผิวสี 2 เมื่อบิดาถึงแก่กรรม หนุ่มน้อยกาญจนจะได้รับตำแหน่งปุโรหิตแทนบิดา และผู้คนพากันเรียกขานในตระกูลพาหมณ์ว่า “ปุโรหิตกัจจายนะ” ตามนามของตระกูล แกว่าวันดี บิดาของท่านคือ ปรัชิตมิติวัจฉะ พาหมณ์ มาจากคือ นางจันทนปุถุพาหมณ์นี่ แห่งตระกูลกัจจาญะ พระมหากัจจายะนะเกิดมาพร้อมกับ ลักษณะที่โดดเด่น คือ มีพรหมคุณผ่องแผ้วเหมือนทองคำ บิดามารดาของซึ่งเรียกให้ท่านว่า “กาญจน” ซึ่งแปลว่า “ทอง” เมื่อเติบโตขึ้น หนุ่มน้อยกาญจนจะได้ศึกษาไตรปิฎก ซึ่งเป็นวิชาความรู้ของพรมัน ตามธรรมเนียมพรหมในจนบการศึกษา ต่อมา วันหนึ่ง เมื่อพระเจ้าจุฬาโพธิ์ กษัตริย์แห่งกรุงอุรุธทวีป ทรงทราบว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขึ้นเกิดขึ้นแล้ว ทรงอยากให้พระธรรมเทนทา จึงทรงแต่งตั้งให้ปุโรหิตกัจจายนะไปบรรลุอาสนธรรมพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้สำเร็จไปยังกรุงอุโฆษณุอุเทน ปุโรหิตกัจจายนะรับราชโองการแล้วเดินทางไปเฝ้าพระบรมศาสดาพร้อมด้วยผู้ติดตามอีก ๗ คน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More