ข้อความต้นฉบับในหน้า
กิเลสคืออะไร?
กิเลสมูฃเหมือนโรคร้ายที่บ่อนทำลาย บีบคั้น ดับกิ่นก่นใจเราให้สุกปร จทำให้คิดสาปปร กูดคำปราก พูดสาปปร กูดคำปร
กิเลสมูฃเหมือนสนิมที่เกิดจากเนื้อในเหล็ก ดับก้อนเหล็กจนกระทั่งผุพังไป ฉันใด ก็เลยเกิดในใจก็คร่อยในใจเราจนกระทั่งตายไป ฉันนั้น
เมื่อเราตายไปแล้ว เขาเอาร่างของเราไปเผา เชื้อโรคทางกายก็ถูกเผาตายไปหมด แต่กิเลสไม่ถูกเผาไปด้วย มันยังคงฝังอยู่ในใจเรา ติดตามเราไปสู่ภพภูมิใหม่ด้วย กิเลสนี้เองที่ขับดันเราให้คิดไม่ดี พูดไม่ดี ทำไม่ดี เมื่อเราคิด พูด ทำไม่ดีอย่างต่อเนื่อง นอกจากจะทำให้เรเดือดร้อนอย่างต่อเนื่องแล้ว ยังเพรเป็นสังข์ไร้ผิดติในตัวของเรานั้นแหละ หากวันไหนไม่ได้คุย ไม่ได้ดู ขว้า ไม่ได้พูด ขว้า วันนั้นจะหยุดงิ้งทั้งวัน ยกตัวอย่างเช่น บางคนเคยสุขบูรณ์ เคยกินหล้าวและเป็นสเป็น สักโบไม่ได้พูด ไม่ได้บังหงิด บางคนก็เลิกแกล้งตาย เพราะคิดหักล้างหรือเข่นหนัก คนที่บูปากสันสนเป็นสิ่งไป แล้วนั้น เวลาจะให้ดีเรื่องดี ๆ คิดไม่อาด จะหยุดหงิ้ง อย่างเทอเนเดียว
ทำอย่างไรจึงจะแก้ไขไม่ดีให้หมดสิ้นไปได้?
ก่อนที่พระสัมพุทธเจ้าจะทรงบังเกิดขึ้นใคร ๆ ก็วิธีแก้ปัญหาสันติไม่ดีเกิดจากกิเลสไม่ได้ จนกระทั่งพระองค์ค้นพบเหตุว่าคือ ไม่ใช่ของคนเรามาสาเหตุมาเกิดจากกิเลส พระองค์ทรงนำสิ่งที่ได้จากการฝึกฝนบนตนเองกระทั่งจัดกิเลสให้หมดสิ้นเด็ดขาดแล้ว มาสอนชาวโลกให้รู้จักวิธีแก้ไขสิ่งไม่ดี นั่นคือ การออกบวชในพระธรรมวินัยของพระองค์ แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นผู้สอนวิธีแก้ไขสิ่งไม่ดีตามที่พระองค์ตรัสรูม่าเท่านั้น ส่วนผู้บวชจะทำได้หรือไม่ได้ นั้น อยู่ที่ตัวของผู้บวชเอง ไม่ใช้อยู่ที่พระพุทธองค์ ดั่งนั้น การบวชในพระพุทธศาสนานังมีวัตถุประสงค์หลัก คือ บวชเพื่อแก้ไขสิ่งไม่ดี บวชเพื่อกำจัดกิเลสอันเป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดสิ่งไม่ดีหมดสิ้นไป
การบวชในพระพุทธศาสนาแก้ไขสิ่งไม่ดีของตัวเราได้อย่างไร?
การแก้ไขสิ่งไม่ดีต้องเริ่มตั้งแต่การแก้พฤติกรรมประจำชีวิตของเรา ได้แก่ เรื่องกิน เรื่องนอน เรื่องอยู่ เมื่อบวชเป็นพระก็ควรแล้ว จะต้องเปลี่ยนพฤติกรรมประจำทั้งหมด จากที่เคยกิน ๓ มื ก็เหลือ ๒ มื้อ จากที่เคยนอนฟูก งานนอนเสื่อ จากที่เคยนั่งอยู่บ้านมีเครื่องปรับอากาศ มานั่ง วัดไม่มีให้ จากที่เคยนั่งผ้าหลายชุด บวชแล้วก็เหลือชุดเดียว
เหตุใดการแก้ไม่ดี ต้องเริ่มจากการเปลี่ยนพฤติกรรมประจำวัน? เหตุผลก็คือ
๓) เปลี่ยนเพื่อแก้พฤติกรรมที่เอาแต่ใจตัวเอง
๒) เปลี่ยนเพื่อฝึกฝนพฤติกรรมภายในจิตใจ ๔ ตามวัตถุประสงค์แท้จริง