การปฏิบัติธรรมของพระพุทธองค์ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน สิงหาคม พ.ศ.2556 หน้า 69
หน้าที่ 69 / 119

สรุปเนื้อหา

พระพุทธองค์ทรงยืนยันความสำคัญของการปฏิบัติธรรมเพื่อเอาชนะอวิชชาและบรรลุภาวะแห่งนิพพาน โดยได้ชี้ให้เห็นว่าอริยมรรคมีองค์ ๙ เป็นทางเดียวที่จะนำไปสู่การหลุดพ้นจากวัฏสงสาร พระองค์อุปมาเปรียบเทียบว่าภิกษุเช่นเดียวกับเนื้อใหญ่ที่มีอุปมาเป็นการมองเห็นผิดทางซึ่งเกี่ยวข้องกับมิจฉาทางหลายประการ เพื่อเตือนให้ผู้ปฏิบัติตั้งมั่นอยู่ในเส้นทางที่ถูกต้อง และปฏิบัติธรรมนั้นด้วยความมุ่งมั่นเพื่อจะได้พ้นจากกรรมชั่ว

หัวข้อประเด็น

-อริยมรรคมีองค์ ๙
-การปฏิบัติธรรม
-การเอาชนะอวิชชา
-ภาวะแห่งนิพพาน
-อุปมาของพระพุทธองค์
-มิจฉาและทางที่ไม่สะดวก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ยิ่งกว่านั้น พระพุทธองค์ยังทรงยืนยันว่าทรงปฏิบัติเอาชนะอวิชชาได้เด็ดขาด บรรลุภาวะแห่งนิพพาน มีวิธีเดียวเท่านั้น คืออริยมรรคมีองค์ ๙ ไม่ใช่อื่นใด ดังที่ทรงกล่าว "บรรดาทางทั้งหลายอันให้อนุมัติ ให้โดยธรรม หลังจากที่ทรงตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณ ทรงสามารถแยกดูแห่งวัฏสงสารได้สำเร็จแล้ว พระพุทธองค์ก็ทรงปฏิบัติอรหัตมรรคองค์ ๙ เรียบไป โดยทรงยึดเอาในฐานะของหลักธรรมที่ควรเคารพรักระลึกถึงของพระธรรมที่ควรเคารพรัก พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติธรรมย่อมถือเอาเทวทักษุตร เป็นอัญอุมาว่า "ภิกษัทหลายเปรียบเหมือนมีเนื้อขนาดใหญ่มากพ่นเข้าไปอาศัยบึงใหญ่ในป่าดง มีชาวคนหนึ่งผู้ปรารถนาความพิ้นาด ไม่ต้องการจะเกื้อกูล ไม่ประสงค์ความปลอดภัยแก่ฝูงเนื้อดังนั้น เขาเปิดทางที่ปลอดภัย มีความสวัสดีไปได้ตามใจของฝูงเนื้อดังนั้น เปิดทางที่ไม่สะดวกผูเนื้อเนื้อคือต่อสัตว์ ชูวนางเนื้อ ต่อไป เมื่อเป็นเช่นนี้ สมัยต่อมา เนื้อลูกก็ถึงฆาตเหลือจำนวนLess- จากนั้นก็ทราบอาขยายความหมายของเนื้อความในอุปมาว่า "คำว่า บิงใหญ่ นี้ เป็นชื่อแห่ง กามทั้งหลาย คำว่า เนื้อผูใหญ่นี้ เป็นชื่อของ หมู่สัตว์ทั้งหลาย คำว่า ชายผู้ปรารถนาความพิ้นาด ไม่ต้องการจะเกื้อกูล ไม่ประสงค์ความปลอดภัย นี้ เป็นชื่อของ มารใจบาป คำว่า ทางที่ไม่สะดวก นี้ เป็นชื่อของ มิจฉาทรรค์ (ทางผิด) คือ ๑. มิจฉาทิฏฐิ(เห็นผิด) ๒. มิจฉาสังกัปปะ(ดำริผิด) ๓. มิจฉาจาก(เจตจำนงผิด) ๔. มิจฉามันตะ(กระทำผิด) ๕. มิจฉาอาชีวะ (เลี้ยงชีพผิด) ๖. มิจฉาวายามะ(พยายามผิด) ๗. มิจฉาสติ(ระลึกผิด) ๘. มิจฉาจิตติ(ยังจิตมั่นผิด)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More