ข้อความต้นฉบับในหน้า
บทความพิเศษ
เรื่อง : พระครูวิเทศสุธรรมวิมล (สุธรรม สมุโภ)
และคณะนักวิจัย DIRI
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้เสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามายาวนานต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายิ่งเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่ผ่านมาแล้ว
พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่กว้างไกลสุดจากจักรวารข้าง โดยเฉพาะที่โยนกประเทศ และ แคว้นคันธาระ แคว้นนี้อยู่ระหว่างประเทศอินเดียกับตะวันออกกลาง เป็นที่เชื่อมการเดินทางสมบูรณ เรียกว่า เส้นทางสายไหม เส้นทางนี้หลังพระพุทธศาสนาเคยเจริญรุ่งเรืองมาก โดยเริ่มต้นจากตอนกลางของอินเดียขึ้นไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งเป็นที่ยวดยาวของแคว้นคันธาระในตะวันตกก่อน แล้วจึงหักออกมาทางทิศตะวันออกเข้าสู่เส้นทางสายไหม แล้วแยกออกเป็น ๒ เส้นทาง บนด้านเหนือและใต้ของทะเลทรายกามาบัน แล้วโปรจบเป็นเส้นทางเดียวกันอีกครั้งในตะวันตกที่นัดก่อนจะเข้าสู่ประเทศจีนนี้นั่น ปรากฎว่าเป็นเส้นทางที่มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีของพระพุทธศาสนาและคัมภีร์พุทธโบราณอยู่ตลอดสาย
ทำให้พวกเราเหล่านักวิจัย “ดيري” ยิ่งตั้งใจมุ่งมั่นสืบค้นวิจัยคำกล่าวเดิมในแหล่งพุทธโบราณสถานนี้ให้ได้ และสืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) ระหว่างสถาบันวิจัย “ดีรี” กับมหาวิทยาลัยออโลไลแห่งออร์แลนเดอร์ ซึ่งผ่านมาได้เกือบ ๓ ปีแล้วนั้น ทำให้เราดำเนินการสืบค้นเรื่องยนต์แต่บัดนั้น
ภาพ : Huntington Archive
http://www.huntingtonarchive.osu.edu/resources
เส้นทางสายไหม เส้นทางการค้าโบราณ
สำหรับเรื่องที่มีการเผยแผ่เอื้ออำนวยตามพุทธไปปู่อาณาจักรต่าง ๆ รอบข้าง และประดิษฐานได้อย่างมั่นคง โดยเฉพาะการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าไปในโยนกประเทศและค้นคว้านั้น เมื่อครั้ง พระเจ้าเลอไชเดอร์มาธาราของกษัตริย์หิพันอินเดีย เมื่อทัศนากลับแล้วก็โปรดเกล้าฯ ให้แม่ทัพนายกองของพระองค์ครองดูแลและรับพิธีได้ ภายหลังจากพระเจ้าเลอไชเดอร์สมครรณ์แล้ว แม่ทัพจักรเกลานั้นได้ตั้งตนเป็นอาณาจักรอิสระ อาณาจักรที่มีกำลังมากคือ อาณาจักรซีเรีย และอาณาจักรเบกเทรียซึ่งปัจจุบันคือส่วนใหญ่ของอัฟกานิสถานและตอนเหนือของปากีสถาน อาณาจักรเบกเทรียสถาปนาเป็นรัฐอิสระในราวพุทธศตวรรษที่ ๗ ซึ่งตรงกับ รัชมายุของพระเจ้าโคศมมหาราช