การสร้างสังคมคุณธรรมในครอบครัว วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2558 หน้า 67
หน้าที่ 67 / 110

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้เน้นถึงความสำคัญของการมีจิตใจที่ใสสะอาด และการสร้างสังคมที่ดีในครอบครัว โดยการให้ความสำคัญกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวและผู้อื่นในสังคม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแนวทางการสร้างสังคมคุณธรรมไว้ 5 ขั้นตอน เช่น การฝึกใจให้ผ่องใส การสร้างมิตรภาพ และการเรียนนรู้จากผู้อื่นเพื่อพัฒนาตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ความดีและมิตรภาพในการดำเนินชีวิตเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่เข้มแข็ง และช่วยสนับสนุนสังคมในด้านที่ดีขึ้น การปล่อยให้สังคมมีลักษณะน่าอยู่จะช่วยเพิ่มคุณค่าชีวิตให้กับทุกคน ข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดูที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-คุณธรรมในครอบครัว
-การสร้างมิตรภาพ
-การพัฒนาสังคม
-พระพุทธศาสนาและสังคม
-การสร้างกลุ่มคนดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ถ้แต่ละคนในบ้านในเมอ่งใจใส่ ก็จะเห็นประโยชน์ของตัวเอง เห็นประโยชน์ของหมู่คณะ เห็นประโยชน์ของประเทศชาติมีงเมือง ไม่ว่าจะฝ่ายก็คะเห็นตรงกันว่า ประเทศชาติมีงเมือง จะก้าวหน้า วัดวาอาราม พระศาสนาจะก้าวหน้า จะต้องทำอย่างไรบ้าง พอใจแล้วจะเห็นตรงกัน เหมือนกับนายเที่ยงวันที่ดวงอาทิตย์สว่างไสอยู่กลางท้องฟ้า อะไรต่อมิอะไรก็จะปรากฏแจ้งเห็นตรงกัน ถ้าใจของคนเราใสแล้ว ดี-ชั่ว ผิด-ถูก ควร-ไม่ควร ก็จะเห็นตรงกัน ในปัจจุบันแก่นบ้าน ในครอบครัว การที่จะดำเนิน รู้เขาใส่ใจเรา เอาใจเราใส่เขา กับคนในครอบครัวก็หากันไปมา ทำให้ใจของคนในครอบครัวไม่เหล่าที่ควรจะเป็น ปัจจุบันสังคมไหมก็ขึ้นมากมาย เป็นสังคมที่แม่บ้านมีแต่นักกันไม่ค่อยรู้จักกัน เพราะว่า ต่างก็พยามยาม ย่านิยมมาหาทากกันอยู่ในตัวเมือง ความใกล้ชิดประนีประนอมเคียง ความเป็นบญดี ความกล้าเตือนกันดังในอดีตที่สังคมเป็นสังคมคุณธรรมพี่น้อง ที่คนส่วนใหญ่มาจาก ตระกูลเดียวกันก็หมดไป มีแต่การกระทบะทั้งกัน มีความระแวงซึ่งกันและกันเข้ามาแทนที่ ถ้าปล่อยให้ภาพอย่างนี้เป็นต่อไป โลกขาดความน่าอยู่ สำหรับการสร้างสรรค์สังคมที่ดีให้เกิดขึ้นและดำรงอยู่นั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ประกาศที่ ๑ ฝึกใจให้ผ่องใสเป็นกิจวัตร ในฐานะพระพุทธ ไม่ว่าจะอยู่ไหนก็ต้องเตือนตัวเองให้รู้จักทำให้ผ่องใสอยู่เป็นประจำ ประกาศที่ ๒ ยืนสร้างมิตรภาพ ยืนสร้างเครือข่ายคนดี ไม่ว่าจะอยู่ไหนต้องสร้างมิตรภาพเอาไว้ให้ดีที่สุด เวลาที่ความดีจะได้ผลเต็มที่เสมอ ไปอยู่ในที่ไหนให้ตรีวงทักเลยที่เดียวว่า ในย่านนั้นบุคคลที่น่าเชื่อถืออใคร่่อื่นมีบ้าง ตัวอย่างเช่น ๑) ใครมีศรทธาในพระพุทธศาสนา เข้าวัดปฏิบัติธรรมเป็นประจำ ๒) ใครมีศรัทธา ใครมีศิล ใครมีจะ มีความเสียสละเห็นแก่ส่วนรวม ๓) ใครมีปัญญา ศึกษาธรรมมาคิดดีพอ ให้ไปสร้างสัมพันธ์ไม่fortเขาเหล่านั้นเอาไว้ให้ดี แม้ไม่รู้จักก็ต้องรีบไปทำความรู้จัก เพื่อ ว่าจะได้รวมคนดีเอาไว้ เรามีดีอะไรจะได้แบ่งปันให้เขา เขามีอะไรจะได้ตอบอาามเป็นต้นแบบ ในกรมสร้างมารมีของเรา ด้วย เมื่อเป็นอย่างนี้คนก็จะได้คบหากัน อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นปึก แผ่นมั่นคง ไม่ว่าคนดีเหล่านั้นจะอยู่นู่นราวดาวเดียวกัน อายุมากกว่าหรืออายุน้อยกว่าก็ขอให้เป็น คนดี คนที่ใจฟงใจกอยู่เป็นประจำ ให้ปลอดภัยสมาคม แล้วก็ไปรวมพากเอาไว้ให้ แม้ในการประกอบอาชีพตั้งหลักตั้งฐาน พระพุทธองค์ทรงสอนว่า ๑) ให้อภัยทรัพย์ ๒) ให้อภัยรักษาทรัพย์ ๓) ให้อภัยคนดี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More