โภชนาปฏิสังยุตและธรรมเนียมในการแสดงธรรม วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2558 หน้า 65
หน้าที่ 65 / 110

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงหมวดที่ ๒ โภชนาปฏิสังยุตซึ่งเป็นธรรมเนียมในการรับนิบาตและการฉันอาหาร หมวดที่ ๓ สัมมนาสปฏิสังยุตเกี่ยวกับวิธีการแสดงธรรมในการอบรมลูกหลาน และหมวดที่ ๔ ปิโมคณะซึ่งว่าด้วยการถ่ายทอดความรู้และการรักษาความสะอาดตามคำสอนของพระพุทธเจ้า จึงควรศึกษาด้วยความตั้งใจเพื่อพัฒนาและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

หัวข้อประเด็น

-โภชนาปฏิสังยุต
-สัมมนาสปฏิสังยุต
-ปิโมคณะ
-มารยาทในการกิน
-การอบรมลูกหลาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หมวดที่ ๒ เรียกว่า “โภชนาปฏิสังยุต” แปลว่า ธรรมเนียมในการรับนิบาตและการฉันอาหาร ซึ่งจะเอามาปรับใช้เป็นมารยาทในการกินอาหาร หมวดที่ ๓ “สัมมนาสปฏิสังยุต” ว่าด้วยธรรมเนียมของการแสดงธรรม ถ้าพูดถืออย่างหนึ่งก็ คือ วิธีที่จะอบรมลูก ๆ หลาน ๆ หรือ ตื่นเต้นคนให้ได้ผลอยู่ตรงนี้ ใครที่อบรมลูกอบรมหลาน ไม่ค่อยได้ผล ลองศึกษาดูว่าพระท่านทำอย่างไร ใครเตือนพรรคพวกเพื่อนฝูง เตือนลูกน้องไม่ค่อยได้ผล มาดูว่า พระท่านทำอย่างไร แล้วแก้ไขเสีย หมวดที่ ๔ “ปิโมคณะ” ว่าด้วยธรรมเนียมในการถ่ายทอดอาจาริ ปสาสะ ทรงสอนหมด ขออภัยไม่มีสถานที่ไหนในโลกจะมาสอนลูกศิษย์ว่าการถ่ายทอดจะควรทำอย่างไร การถ่ายทอดจะควรทำอย่างไร ไม่มีสถานใดในโลกสอน แต่พระพุทธเจ้าทรงสอน สอนละเอียดด้วย ซึ่งต่อมกลายมาเป็นธรรมเนียมในการใช้ห้องน้ำท่า และการรักษาความสะอาดบ้านเรือนของพวกเรา รวมไปในนั้นด้วย (อ่านต่อบทหน้า) กัณยาน ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ ๙๙
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More