ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันดีดีและมหาวิทยาลัยออสมโละ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2558 หน้า 38
หน้าที่ 38 / 110

สรุปเนื้อหา

ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ สถาบันดีดีได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยออสมโละในยุทธศาสตร์การวิจัย ซึ่งนักวิจัยได้เรียนรู้จากแหล่งข้อมูลพื้นฐานส่งผลต่อการพัฒนาและทำงานวิจัยร่วมกับนักวิชาการระดับโลก ผลักดันการผลิตผลงานทางวิชาการที่ได้รับการยอมรับในสากล นอกจากนี้ นักวิจัยยังได้รับประสบการณ์จากการอนุรักษ์และซ่อมแซมเอกสารโบราณ เช่นพระคัมภีร์ที่มีอายุมากกว่า ๑,๐๐๐ ปี โดยเน้นความสำคัญในการ สืบค้นและศึกษาภาษาโบราณ เพื่อสร้างความเข้าใจที่ลึกซึ้งในชิ้นงานที่มีค่าทางประวัติศาสตร์และวรรณกรรม.

หัวข้อประเด็น

-ความร่วมมือทางวิชาการ
-การวิจัยเอกสารโบราณ
-การอนุรักษ์และซ่อมแซมเอกสาร
-ความสำคัญของแหล่งข้อมูลพื้นฐาน
-การพัฒนาคุณภาพนักวิจัย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ที่ผ่านมา สถาบันนี้มีความร่วมมือทางวิชาการอย่างต่อเนื่องกับมหาวิทยาลัยออสมโละ แล้วทางสถาบันดีดี ก็ได้รับความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยออสมโละ เมืองซีแอตเทิล สหรัฐอเมริกา ที่มีโครงการวิจัย ชำระ และเผยเอกสารโบราณที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เช่นกัน จึงทำให้นักวิจัยของสถาบันดีดี เรียนรู้สืบค้นจากแหล่งข้อมูลพื้นฐานปฐมภูมิ (Primary Source) ที่แท้จริง นำหมายถึงโอกาสอันดีงาม ที่นักวิจัยของสถาบันดีดี ได้ย้อนยุคไปศึกษา วิจัย และได้เรียนรู้ภาคสนามกับนักวิชาการ คุณครูระดับโลก ที่อยู่ตามที่ต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลก จากการที่นักวิจัยของสถาบันฯ ได้มีเฉพาะฝึกฝนตนเองด้านวิชาการ ทั้งเรียนรู้ภาคสนาม และการจัดทำวิจัยด้วยระบบมาตรฐานสากลของโลก โดยเริ่มต้นเหมือนเป็นผู้ช่วยวิจัยของคุณครู นักวิชาการระดับโลกเหล่านั้น ซึ่งทำให้พวกเราพัฒนางานวิจัยก้าวหน้าไปได้มาก จนปัจจุบัน พวกเรา ก็ได้รับความเมตตาให้ร่วมทำงานเคียงข้างท่านอย่างเต็มตัว จน นักวิจัย ของเรา ได้ผลิต ผลงานทางวิชาการร่วมกัน นักวิชาการที่มีชื่อเสียงเหล่านั้น ที่จะพิมพ์เผยแพร่สาระต่าง ๆ ไป ให้ นักวิชาการระดับโลก นั้น เริ่มรับรู้ ผลงานจากสถาบันวิจัยดีดี เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ นักศาสตราจารย์เบนส์ บราวิ ก ได้พูดถึงนักวิจัยของสถาบันดีดีไว้ที่ Workshop โดยนับหมายไปรพบ Conservator ซึ่งคุณเจยเนอ เป็นผู้มีประสบการณ์ในการดูแลรักษาของเก่า ด้านเอกสาร โดยเฉพาะภาพเขียนโบราณเก่าที่ประณีต เป็นต้น และเนื่องจากพระคัมภีร์เหล่านั้น เป็นวัสดุเปล่าไม้เบิร์ช (Birch Bark) และไบสาน ที่มีการจารึกด้วยมืกียนเยี่ยม อายุประมาณ คริสต์ศตวรรษที่ ๖ (อายุรวม ๑,๓๐๐ ปี) แต่ถูกความชื้น (ไม่รู้สาเหตุ) จนทุกแผ่นติดกันแน่น คุณเจษฎา ต้องค่อย ๆ แกะ แล้วทำให้แห้ง แล้วจึงส่งต่อไปถ่ายสำเนาดิจิทัล จากนั้นจึงเป็นช่วงที่ นักวิจัยของดีดี ดร.เจนส์ จะมีโอกาสเรียนอ่าน ชำระวิจารณ์เป็นตัวอักษรโมบัน (Romanize) จากนั้นจึงจะไปเทียบกับคัมภีร์ในภายอัน ซึ่งผู้ชำระจะต้องมีความรู้ภาษานั้น ๆ เช่น ทิเบตจีน เป็นต้น และแปลเป็นภาษาอังกฤษ คุณเจษฎา (Conservator) แผนอนุรักษ์ดีดีรูปธรรม ทำลายอายุอย่างวิธีการเก็บรักษาและซ่อมแซม เพื่อการทำงานขั้นตอนต่อไป ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแหล่งข้อมูลชุดใหญ่ ต้นฉบับเก่าแก่ อายุมากกว่า ๑,๐๐๐ ปี การเดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจในครั้งนี้ มีนักกิจเพื่อร่วมประชุมปรึกษาและจะได้โอกาสพัฒนาความร่วมมือกัน อันสืบเนื่องจากการทำ MOU ระหว่างสถาบันคือ University of Oslo (UiO) และ Dammachai International Research Institute (DIRI) อีกทั้งผู้เขียนและทีมงานก็ได้มีโอกาสพบและเข้าไปศึกษากับทีมงานนักวิชาการที่เป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยเกี่ยวกับพระคัมภีร์ทิพธราน บฉบับภาษาอารบิค ได้แก้ ศ. วิชาธร ซาโลมอน, ศ. คอลเล็ต อิค็อก, ดร. แอนดูร์ กาลา และท่านภิญญา เทียมจง ในการประชุมวิชาการด้านพุทธศาสตร์ศึกษานานาชาติ ครั้งที่ ๑ ณ ภาควิชาตะวันออกและอัครศึกษามหาวิทยาลัยอลโดน Departments of Southeast Asian Studies ที่เป็นผลงานของนักวิจัยสถาบันดีดี จากการค้นพบหลักฐานร่องรอยธรรมภายใน ซึ่งมีอยู่หลายแห่งด้วยกัน และเป็นเรื่องที่น่าศึกษาโดยผู้เขียนจะทยอยนำมาเผยแพร่ให้ได้ทราบกันในฉบับต่อไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More