ข้อความต้นฉบับในหน้า
ด้วยความจริงก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้ปัจจุบันมีพระไตรปิฎกในส่วนใหญ่ถูกแทนที่ด้วยการพิมพ์เป็นรูปเล่มหนังสือ หรือเก็บเป็นคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ส่งให้ได้เพราะไร้ผลงานเพียงปลายนิ้วสัมผัส การศึกษา ค้นคว้าคำสอนทางพระพุทธศาสนาจึงขยายวงกว้างจากโลกตะวันออกไปรับรู้ยังดินแดนอื่นที่ห่างไกล ไมว่าจะเป็นวัฒนธรรม อเมริกา หรือออสเตรเลีย นักวิชาการต่างประเทศต่างให้ความสนใจในคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มุ่งเรียนรู้และค้นคว้าเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง แต่ด้วยมุมมองวัฒนธรรมและความเข้าใจที่แตกต่างกันอาจให้เกิดการศึกษา วิจัยค้นคว้าที่สนใจในหลากหลายแง่มุม เป็นการเปิดโลกทัศน์จากยุคพุทธกาลสู่วปัจจุบัน ในแง่วิถีการที่อยู่บนพื้นฐานของคำสอน
“โครงการพระไตรปิฎก ฉบับวิชาการ” (DTP) จัดตั้งขึ้นโดยคำรื่อง ผอ.ดร.สมชาย สานนท์ดูได เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๓ เพื่ออนุรักษ์และศึกษาคมสะเทรีพระไตรปิฎกในลานของ ๔ สายจาริหลักในพุทธศาสนาแบบเผ่าวา ได้แก่ คัมภีร์บาลอรมน อักษรสีทอง อักษรขอม และอักษรธรรม โดยการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ในการสำรวจรวมและศึกษาค้นคว้าโดยมีเจ้าหน้าที่ทั้งภายในและต่างประเทศ ที่มุ่งแรงกายแรงใจเสาะแสวงหาคัมภีร์พระไตรปิฎกสีกันเพื่ออนุรักษ์และศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง ถือเป็นนพัฒนาศักยภาพบุคลากรและเทคนิคต่าง ๆ จนผลงานเริ่มเป็นที่จดจำและประจักษ์แก่สายตานักวิชาการและผู้สนใจ
การอนุรักษ์คัมภีร์ในลานโดยโครงการพระไตรปิฎก ฉบับวิชาการ เริ่มจากการสำรวจ ทำความสะอาด และถ่ายภาพเป็นไฟล์ดิจิทัล
กันยายน ๒๕๕๙ อยู่ในบุญ ๒๕