การฝึกสมาธิเพื่อการเข้าถึงนิพพาน วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2558 หน้า 95
หน้าที่ 95 / 110

สรุปเนื้อหา

บทความนี้แนะนำวิธีการฝึกสมาธิเพื่อเข้าถึงดวงนิพพาน โดยเสนอข้อควรระวังและแนวทางในการปฏิบัติอย่างถูกต้อง เพื่อให้การฝึกนั้นเกิดความสุขและผลลัพธ์ที่ดีในชีวิต โดยเริ่มจากการทำอย่างสม่ำเสมอและไม่บังคับเพื่อให้จิตใจเข้าถึงความสงบและดวงปรูมมรรคได้อย่างดี รวมถึงการบำรุงรักษาดวงปรูมมรรคเพื่อความสุขและความเจริญในชีวิตและชาติหน้า

หัวข้อประเด็น

-การฝึกสมาธิ
-ดวงนิพพาน
-ดวงปรูมมรรค
-ความสุข
-การปฏิบัติสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดวงเล็ก ๆ ดวงกล้านไปเรื่อย ๆ ใจจะยุบจนหยุดได้ถูกส่วน เกิดการกดศูนย์และเกิดดวงสว่างขึ้นมาแทนที่ ดวงธรรม หรือ ดวงปรูมมรรค อันเป็นประตูเบื้องต้นที่จะไปสู่หนทางแห่งมรรค ผล นิพพาน การระลึกถึงนิพพานสามารถทำได้ในทุกแห่ง ทุกที่ ทุกอิริยาบถ ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เดิน หรือทะทำการใด ๆ คำแนะนำ คือ ต้องทำให้มั่นเสมอเป็นประจำ ทำเรื่อย ๆ ทำอย่างสบาย ๆ ไม่รีบ ไม่บังคับ ทำได้แต่ไหนให้เกิดความอ่อนโยนให้เกิดความอ่อนหวานขึ้นไปจนถึงทำให้จิตดวงสูญเสียความเป็นกลาง และเมื่อการฝึกสมาธิเกิดผลได้ ดวงปรูมมรรคที่ใสแก่ใจ สวยเกินสวย ติดสินิมันคงอยู่ที่ศูนย์กลางกายแล้ว ให้หมันก็ระลึกถึงดวงอยู่เสมอ อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะทำให้ชีวิตต่างอยู่บนเส้นทางแห่งความสุข ความสำเร็จและความไม่ประมาทได้ตลอดไป ทั้งยังจะทำให้สมาธิละเอียดลุ่มลึกไปตามลำดับดีด้วย ข้อควรระวัง ๑. อย่าใช้กำลัง คือไม่ใช่กำลังใจ ทั้งสิ้น เช่น ไม่บีบหรือบีบเนื้อเพื่อให้เห็นนิมิตตัว ร ไม่เกร็งแน่น หรือกล้ามเนื้อด้านท้อง ไม่ให้รั้งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังสองส่วนไหนของร่างกายก็ตาม จะทำให้ดลบันดาลจากศูนย์กลางกายไปสู่จุดนั้น ๒. อย่าอยากเห็น คือทำให้เป็นกลาง ประคองสติให้ผลจากบารมีจากบารมีจากบารมี ส่วนจะเห็นนิมิตเมื่อใดนั้น อย่ากังวลถ้าถึงเวลาแล้วอ่อนเอง การฝึกดวงของดวงนิพพานนี้อุปมาลืมเป็นการขึ้นและตกดวงของอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้ ๓. อย่ากังวลกิจการกำนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝึกสมาธิอุ้ให้เข้าสู่ธรรมะภายใน อาจจะกังอิง “อานวาสิน” คือกลิ่นแส่วงเป็นบาทเบื้องต้น เมื่อฝึกสมาธิจนเข้าสิงดวงปรูมมรรคแล้ว ฝึกสมาธิต่อไปผ่านกายมนุษย์ละเอียด กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนกระทั่งเข้าสู่ธรรมภายในแล้วจึงเป็นสิ่งบันเทิงในภายหลัง ดังนั้นจึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหายใจเข้าออกแต่ประการใด ๔. เมื่อเลิกจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายเดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใด ก็ดำ คำ ยินดี เดินดี นอนดี หรือก็ดีอย่างฐานที่ตั้งจิตไปที่จะเป็นอันหนึ่ง ให้ด้ใจบริการการวาวนาพร้อมกันถึงบริการร่มเป็นดวงแก้วใสควบคู่ตลอดไป ๕. นิมิตต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น จะต้องน้อมไปตั้งไว้ที่ศูนย์กลางกายทั้งหมด ถ้ามีติดต่อกันแล้วทายไปก็ไม่ต้องตามหา ให้ว่าความประคองใจไปตามปกติ ในที่สุดเมื่อจงลง นิมิตย่อมปรากฏขึ้นใหม่อีก การฝึกสมาธิเบื้องต้นเท่าที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ย่อมเป็นปัจจัยให้เกิดความสุขได้พอสมควร เมื่อซักซ้อมปฏิบัติต่อเนื่อง ๆ ไม่ทอดทิ้งจนได้ดวงปรูมมรรคแล้ว ก็ให้หมันประคองรักษาดวงปรูมมรรคนันใว้ตลอดชีวิต ดั่งดดนอยู่ในศีลธรรมอันดี ย่อมเป็นหลักประกันได้ว่า ได้ที่พึ่งของชีวิตที่ถูกต้องดังงาม ที่จะส่งผลให้เป็นผู้มีความสุขความเจริญ ทั้งในพาชาติและภพชาติหน้า หากสมามารณะแนะนำต่อ ๆ กันไป ขยายไปยังเหล่ามนุษย์ชาติ อย่างไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และเคราะห์พันธุ์ สิ้นสุดอันไพบูลย์ที่สุดเทวดานักญาติที่คนใดฝันย่อมบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More