การศึกษาวิเคราะห์ตฤษโกฏิประเภทยืนยันของพระนาคารชุน การศึกษาวิเคราะห์จตุษโกฏิประเภทยืนยันของพระนาคารชุนในคัมภีร์ มูลมัธยมกการิกา หน้า 3
หน้าที่ 3 / 31

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นการศึกษาและวิเคราะห์ทฤษฎีตฤษโกฏิจากสํานักมัยยกะในคัมภีร์มุตฺรมียกการิกา เพื่อตรวจสอบคำสอนของพระพุทธเจ้าและความสมเหตุสมผลทางตรรกวิทยา โดยพบว่า โศลกที่ 18.8 แสดงทัศนะที่ถือว่าสอดคล้องกับกฎหมายตรรกวิทยา โดยเนื้อหาทั้ง 4 โกฏิไม่ขัดแย้งกับกฎหมายทางความคิดและมีความสมดุลกับโครงสร้างต่างๆ ในคัมภีร์.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ตฤษโกฏิ
-ทัศนะของสํานักมัยยกะ
-ความสมเหตุสมผลทางตรรกวิทยา
-คำสอนของพระพุทธเจ้า
-การศึกษาในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

134 ธรรมาธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561 การศึกษาวิเคราะห์ตฤษโกฏิประเภทยืนยันของพระนาคารชุนในคัมภีร์มุตฺรมียกการิกา เนาวรัตน์ พันธีไกล บทคัดย่อ การโตัเกี่ยวเพื่อแสดงทัศนะของสํานักตนต่อสํานักอื่นเป็นเรื่องที่พบเห็นได้ทั่วไปในมุษย์พุทธกาล ต่อมาในยุคหลังพุทธกาล สํานักมัยยกะได้สร้างวิธีแบบตฤษโกฏิขึ้นมา เพื่อประกาศทัศนะของตนและหักล้างคำสอนของสํานักอื่นๆ ที่เชื่อว่าขัดแย้งกับคำสอนของพระพุทธเจ้า บทความนี้มุ่งศึกษาทัศนะของสํานักมัยยกะที่ปรากฏในคัมภีร์มุตฺรมียกการิกา ว่าคำสอนของพระพุทธเจ้าที่สํานักมัยยกะยืนยันคืออะไร และมีความสมเหตุสมผลตามกฎหมายตรรกวิทยาหรือไม่ ผลการศึกษาพบว่า เนื้อหาในโศลกที่ 18.8 เป็นเพียงโศลกลิเกี่ยวกับคำสอนของพระพุทธเจ้า. ผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างประกอบของตฤษโกฏิประเภทยืนยันดังกล่าวด้วยระบบตรรกวิทยาประกอบ พบนว่า เนื่อในในประกอบทั้ง 4 โกฏิไม่ขัดกับกฎหมายทางความคิด (Law of Thought) ซึ่งเป็นฐานของตรรกวิทยา. และเมื่อเทียบประพนธ์ทางตรรกวิทยาแล้วพบว่า เนื่อความระหว่างโครงสร้างประกอบกับเนื้อหาในคัมภีร์มุตฺรมียกการิกา มีความสมดุลกันหรือเท่าเทียมกันทุกประการ กับเนื้อหา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More