ข้อความต้นฉบับในหน้า
การศึกษาวิเคราะห์ฐานข้อมูลเกี่ยวกับข้อความพระนาคารุณาในมัลมหายกะคาถากริยา
The Analytical Study of the Affirmative Catuskoti by Nägârjuna in Mūlamadhyamakakārikā Scripture
"ผู้ใดไม่รู้แจ้งความแตกต่างระหว่างความจริงทั้งสองผู้นั้นไม่รู้แจ้งความจริงในพระพุทธศาสนา"
"โดยไม่อาจชี้โหราหทางโลกความจริงสูงสุดไม่อาจแสดงได้ปรากฏจากการเข้าถึงความจริงสูงสุดไม่อาจเข้าถึงนิวรณ์ได้"23
จากโศลกดังกล่าวพบว่า การเข้าถึงนิวรณ์ในลักษณะของพระนาคารุณาจำเป็นต้องอาศัยความจริง 2 อย่างคือ สัมมฤทธิยะ(สมมติสัจจะ) และปฐมฤทธิยะ(ปฐมสัตย์สัจจะ) ซึ่งความจริงทั้งสองนี้ให้ท่านนะของพระนาคารุณในประโยคยืนยันข้างต้นมีความชัดเจนขึ้นทันที กล่าวคือ คำสอนของพระพุทธเจ้าที่กล่าวว่าสรรพสิ่งทั้งไม่จริงและไม่ใช่ไม่ใช่ มีนัยยะที่จำเป็นต้องอธิบายเพิ่มเติม กล่าวคือ สรรพสิ่งเป็นจริงที่พระนาคารุณอ้างถึงนั้น มีน้อยอย่างน้อย 2 ระดับ คือ สรรพสิ่งที่เป็นจริงในระดับสมมติและจริงในระดับปฐมฃตต์
ตามแนวคิดพื้นฐานของลำดับนี้กล่าวว่า สรรพสิ่งอยู่ในสภาพที่อิงอาศัยกันและกันอยู่ ความจริงระดับปฐมสัตย์ไม่อาจแยกจากความจริงในระดับสมมติ ยกตัวอย่างเช่น เราเห็นกองไฟปรากฏขึ้นตรงหน้า คำว่าไฟเป็นศัพท์บัญญัติที่ปรากฏบนในภาษาไทย ถ้าเป็นภาษาต่างประเทศจะเรียกแตกต่างกันไปเช่น เรียกว่า Fire ในภาษาอังกฤษ เป็นต้น แต่ในขณะเดียวกันความรู้สึกร้อนเป็นสิ่งสากลสำหรับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ทั้งคนและสัตว์ เมื่อถูกไฟจะรู้สึกร้อน ความร้อนจึงเป็นความจริงระดับปฐมฤทธิ์ของไฟ นี่คือ ตัวอย่างของการอยู่ร่วมกันของความจริงทั้งสองระดับ
ตัวอย่างเพิ่มเติมเพื่อความเข้าใจง่ายขึ้น ได้แก่ สมมติว่าวันหนึ่งเราเดินไปพบผู้หญิงคนหนึ่งโดยบังเอิญ ผู้หญิงคนนั้นชื่อ สมหญิง
__________________________
23 มก. 24, กรกฎาคม แปล (2554:247)