ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมราชา
วาสสาววิมวิหารางพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561
ตามฐานข้อมูลของตรรกศาสตร์หรือเรียกว่า กฎแห่งความคิดเห็นโดยอิรริโตเลิตัล15 พบว่าประโยคในกฎที่ 3 และ 4 หรือประพจน์ในกฎที่ 3 ขัดกับกฎแห่งความไม่ขัดแย้งในทางตรรกวิทยา (The principle of contradiction) เนื่องจากประจักษ์ทางตรรกวิทยาจะมีค่าความจริงทั้งจริงและเท็จความเดียวกันไม่ได้ ตัวอย่างเช่น ตอนบ่ายวันหนึ่งสมศรีมองออกไปนอกหน้าต่างมองเห็นฝนตกและไม่ตก ประโยคนี้ไม่ถือเป็นประโยคตรรกะ เนื่องจากไม่มีเหตุการณ์ที่ฝนตกและไม่ตกพร้อมกัน ถ้าเราลักให้ฝนตกเป็นจริง เหตุการณ์ที่ฝนไม่ตกก็ต้องเป็นเท็จเหตุการณ์นี้เป็นทั้งจริงและเท็จจะปรากฏร่วมกันไม่ได้
ส่วนประพจน์ในประโยคที่ 4 หากพิจารณาตามโครงสร้างประกอบแล้วพบว่าขัดกับกฎการปฏิเสนอนปฏิสม (Law of double negation) ตัวอย่างเช่น ถ้ากำหนดให้ผู้หญิงเป็น P นิยสารของประโยคข้างต้นคือ หล่อนไม่ใช่ผู้หญิง มีค่าเท่ากับ ~ P demikian หล่อนไม่ใช่ผู้หญิง จะมีค่าเท่ากับ ~ (~ P) ซึ่งแปลว่าหล่อนเป็นผู้หญิง ดังนั้นเมื่อพิจารณาในกฎที่ 4 ซึ่งแทนค่าด้วยสัญลักษณ์ ~P . ~ (~P) ซึ่งในทางตรรกวิทยา ~ (~P) จะมีค่าเท่ากับ P เพราะฉะนั้นประโยคนี้จึงมีค่าเท่ากับประโยคในกฎที่ 3 คือ ~P . P ส่งผลให้เหลือเพียง 3 ประโยคนี้เองจากประโยคที่ 4 ไม่มีค่าความจริงเป็นของตนเองอย่างไรรักตาม โครงสร้างในสถานะนี้เป็นเรื่องใหม่ในวงการตรรกศาสตร์เชิงพุทธ เนื่องจากโครงสร้างประโยคดูถูกกฎซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับประโยคคำสูตรของสำนักมยโยมักได้ปรากฏอยู่ทั่วไปในคัมภีร์พระพุทธศาสนายุคต้น โดย Jayatilleka ได้อธิบายไว้ในหนังสือ Early Theory of Buddhist Knowledge16 ว่าหากกำหนดให้ประโยคในกฎที่ 1 มีความจริงตรงกันข้าม (contrary) กับประโยค
15 Bochenski (1961:60)
16 Jayatilleka (1963: 341)