ธรรมาธารา: การศึกษาในสำนักมัชฌิมะ การศึกษาวิเคราะห์จตุษโกฏิประเภทยืนยันของพระนาคารชุนในคัมภีร์ มูลมัธยมกการิกา หน้า 9
หน้าที่ 9 / 31

สรุปเนื้อหา

บทความนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับสำนักมัชฌิมะว่ามีการยืนยันคำสอนของพระพุทธเจ้าอย่างมีเหตุผลหรือไม่ โดยมุ่งเน้นการวิเคราะห์จากคัมภีร์มัชฌิมะการีวาก ซึ่งมีความสำคัญต่อการศึกษาในปรัชญามัชฌิมะ โดยเฉพาะคำว่า 'ดุษฎิโกฏิ' หรือ Tetralemma ที่แสดงถึงทางเลือก 4 ทางในการตอบคำถาม ในแง่ของตรรกวิทยาและอิทธิพลทางความคิด และความเป็นไปได้ของการกำหนดคุณสมบัติต่างๆ เป็นสิ่งที่ช่วยในการเข้าใจความซับซ้อนของการคิดและการถกเถียงในการศึกษาคำสอนนี้ ผ่านการศึกษาเชิงลึกในคัมภีร์ที่มีความหมายอย่างยิ่งตามมุมมองต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์คำสอนของพระพุทธเจ้า
-สำนักมัชฌิมะ
-ตรรกวิทยาตะวันตก
-คัมภีร์มัชฌิมะการีวาก
-ดุษฎิโกฏิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมาธารา วาสวัตวิชชาการพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561 ถึงมุ่งศึกษาว่า สำนักมัชฌิมะมีวิธีวิธีในโกลกได้นั้นยืนยันคำสอนของพระพุทธเจ้าและ ทัศนะนั้นมีความสมเหตุสมผลหรือไม่ตามหลักตรรกวิทยาตะวันตกและหากมีความเป็นไปได้ว่า สำนักมัชฌิมะได้แสดงทัศนะยืนยันคำสอนของพระพุทธเจ้า คำสอนนั้นคืออะไร โดยมุ่งศึกษาวิเคราะห์จากคัมภีร์มัชฌิมะการีวากชุดซึ่งเชื่อกันว่าเป็นคัมภีร์ที่พระนาคารชุนฉนาขึ้นด้วยตนเอง และเป็นคัมภีร์ที่ได้บรรณาธิการรับรองว่าทรงอิทธิพลต่อผู้ที่ศึกษาปรัชญามัชฌิมะมากที่สุด ความหมายและลักษณะของโครงสร้างประโยคดุจดูญา คำว่า “ดุษฎิโกฏิ” เป็นคำสมาจากคำสันสกฤตว่า “ดุษฎุ” (Catuḥ) ที่แปลว่า สี และ โกฏิ (Koti) ที่แปลว่า มุม ที่สุด ในปรัชญาตะวันตก “ดุษฎิโกฏิ” ถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ทางสี่แย่ หรือ Tetralemma ซึ่งหมายถึง 4 มุม (four-corners) คำว่า มุมทั้ง 4 นี้ หมายถึงทางเลือกจำนวนทั้งสิ้น 4 ทาง กล่าวคือ หากเราต้องตอบคำถามใดคำถามหนึ่ง ความเป็นไปได้ที่จะสามารถตอบคำถามมียังทั้งหมด 4 ทาง ได้แก่ ใช่, ไม่ใช่, ทั้งใช่และไม่ใช่ และทั้งใช่และไม่ใช่ก็คือมโนคู่ ซึ่งคำว่า “ดุษฎิโกฏิ” หมายถึง “มุมทั้ง 4” หรือ “ที่สุดของขอบเขต (ทางความคิด) 4 ประการ” ตัวอย่างเช่น หากเรากำหนดให้บางสิ่งบางอย่างเป็นผู้หญิง ทันทีที่เรากำหนดโดยโนทัศนีขึ้นมา เราจะพบว่ามีความเป็นไปได้ที่มนุษย์จะกำหนดให้บางสิ่งบางอย่างสมมติให้เป็น X เกิดขึ้น ได้ไม่เกิน 4 มุมของความคิด ได้แก่ (1) X เป็นผู้หญิง (ยืนยัน), (2) X ไม่ใช่ผู้หญิง (ปฏิเสธ), (3) X เป็นผู้หญิงและไม่ใช่ผู้หญิง (ทั้งยืนยันและปฏิเสน) ในความเดียวกัน 6 Monier-Williams (1899 :383) 7 Monier-Williams (1899 :312) 8 Priest (2010:25)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More