ธรรมาธารา: ประเภทของประโยคในโศลกและการสอนของพระพุทธเจ้า การศึกษาวิเคราะห์จตุษโกฏิประเภทยืนยันของพระนาคารชุนในคัมภีร์ มูลมัธยมกการิกา หน้า 11
หน้าที่ 11 / 31

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจประเภทของประโยคในโศลกภายใต้พระพุทธศาสนา โดยเน้นความสำคัญของประโยคที่เกี่ยวข้องกับการสอนของพระพุทธเจ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งโศลกที่ 18.8 ซึ่งจัดอยู่ในประเภทจตุโศลก ที่มีโครงสร้างครบทั้ง 4 ประโยคที่สามารถสร้างความเข้าใจและสะท้อนแนวคิดของพระนาคารุณที่ปรากฏในการเขียนต่างๆ พบว่าหลักการของโศลกสามารถเชื่อมโยงกับแนวคิดตรรกะและการเข้าใจความจริงของสรรพสิ่งในโลกของตนเป็นอย่างมาก. สำหรับผู้ที่สนใจในเรื่องเหล่านี้และเรียนรู้เพิ่มเติมสามารถเยี่ยมชม dmc.tv เพื่อค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้มากขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-ประเภทของประโยคในโศลก
-การสอนของพระพุทธเจ้า
-ความสำคัญของโศลกที่ 18.8
-แนวคิดของพระนาคารุณ
-การตีความความจริงในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมาธารา วาสนาอิสรภาพพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561 ประเภทยืนยันเมื่อจำแนกตามโศลกต่างๆ ที่ประกอบด้วยประโยคในโศลกที่ 1, 2, 3 และ 4 ในคำอรรถมัยมาก็รายากแต่จะพบว่า มึอีื่ดด้วยกัน 3 ประเภท ได้แก่ 1) ประโยคเอกโศลก 2) ประโยคไตรโศลก และ 3) ประโยคจตุโศลกสำหรับประโยคจตุโศลกอยู่ในประเภทที่สาม ซึ่งหมายถึงประโยคที่ประกอบด้วยประโยคในโครงสร้างจตุโศลกที่มีครบทั้ง 4 ประโยคปลากฏพร้อมกันใน 1 คอลง สำหรับในคำอรรถมัยมัยมาการปรากฏเพียงโศลกเดียว ได้แก่ โศลกที่ 18.8 โดย Westerhoff อ้างว่าโครงสร้างประกาศจตุโศลกส่วนนใหญ่ของสำนักมัยกะอยู่ในรูปปฎิเสท ยกเว้นงานเขียนของพระนาคารุณในโศลกที่ 18.8 ที่ดูเหมือนจะทำหน้าที่เนบนและอธิบายจุดยืนที่พระนาคารุณเห็นว่าเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า11 ดังนี้ สวัสดาย เน วาทกูฉันจากภูเขมะ ในวาทกูฉันในวา ฒเขยเมตทุมพุทธามาศาสนมั สรรพสิ่งเป็นจริง (เป็นอย่างนั้น) หรือไม่เป็นจริง (ไม่เป็นอย่างนั้น) ทั้งที่เป็นจริงและไม่เป็นจริง (ทั้งเป็นอย่างนั้นและไม่เป็นอย่างนั้น) และไม่เป็นจริงก็ไม่ใช่เป็นจริงก็ไม่ใช่ (ไม่เป็นอย่างนั้นและไม่เป็นอย่างนั้นก็ไม่ได้) คำนี้คำสอนของพระพุทธเจ้า12 โศลกข้างต้นถือเป็นหลักฐานสำคัญที่สะท้อนให้เห็นว่า แนวคิดจตุพฺธกิจกของพระนาคารุณปฎิเสธสำหรับยืนยันคำสอนของพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังเป็นโศลกยืนยันเพียงประโยคเดียวที่มีประโยคครบทั้ง 4 โศลก ข้อความในโศลกมีความสมเหตุสมผลตามกฎทางตรรกะหรือไม่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More