การวิเคราะห์ความหมายเชิงอนุมานในคัมภีร์มหายาน การศึกษาวิเคราะห์จตุษโกฏิประเภทยืนยันของพระนาคารชุนในคัมภีร์ มูลมัธยมกการิกา หน้า 18
หน้าที่ 18 / 31

สรุปเนื้อหา

การศึกษาในบทความนี้วิเคราะห์ความหมายเชิงอนุมานโดยใช้หลักการของพระอักขระในคัมภีร์มหายานมาการิสมากว่า เน้นการใช้กฎปฏิสัมบัติแบบประสัญประติษะ โดยการแทนค่าในประโยคเพื่อไม่ให้มีความสับสนในการตีความ รวมทั้งการเชื่อมโยงเนื้อหาระหว่างโกฏิต่าง ๆ อย่างมีระเบียบ เพื่อสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนในคำสอนของพระพุทธเจ้า.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ความหมายเชิงอนุมาน
-แนวคิดพระอักขระ
-โกฏิในคัมภีร์มหายาน
-หลัก Catuskoti
-ความสัมพันธ์ระหว่างประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การศึกษาวิธีวิเคราะห์ความหมายเชิงอนุมานโดยใช้แนวคิดของพระอักขระในคัมภีร์มหายานมาการิสมากกว่า The Analytical Study of the Affirmative Catuskoti by Nāgarjuna in Mulamadhyamakarika Scripture จากแนวคิดข้างต้นผู้เขียนจงเลือกใช้กฎการปฏิสัมบัติแบบประสัญประติษะ เนื่องจากมีแนวทางการอธิบายที่ใกล้เคียงกับแนวคิดของ Jayatilleka และเลือกการแทนค่าประโยคในโกฏิที่ 2 ด้วยสัญลักษณ์ R เนื่องจากไม่ได้เน้นเสนอดเพื่อให้มีความหมายชัดเจนกับประโยคในโกฏิที่ 1 และเพื่อป้องกันความสับสนในการตีความ แสดงได้ดังนี้ ประโยคในโกฏิที่ 1 คำสอนของพระพุทธเจ้าคือสรรคสิ่งเป็นจริงแทนด้วย P ประโยคในโกฏิที่ 2 คำสอนของพระพุทธเจ้าคือสรรคสิ่งไม่เป็นจริง(ไม่เป็นอย่างนั้นแตอาจเป็นบางอย่างที่ไม่ได้ตรงข้ามกับความจริง) แทนด้วย R ประโยคในโกฏิที่ 3 คำสอนของพระพุทธเจ้าคือสรรคสิ่งเป็นจริงและไม่เป็นสิ่งที่ไม่เป็นจริง (ไม่เป็นอย่างนั้นแตอาจเป็นบางอย่างที่ไม่ได้ตรงข้ามกับความจริง) แทนด้วย P·R ประโยคในโกฏิที่ 4 คำสอนของพระพุทธเจ้าคือสรรคสิ่งทั้งไม่จริงและทั้งหมดไม่เป็นสิ่งที่ไม่จริง (ไม่เป็นอย่างนั้นแตอาจเป็นบางอย่างที่ไม่ได้ตรงข้ามกับความจริง) แทนด้วย ~P . ~R ดังนั้นเมื่อสรุปจากการเลือกใช้ประโยคในคัมภีร์พบว่า ประโยคในคำสอนในโกฏิที่ 4 ประโยคมีความสมบูรณ์หรือเท่ากับทุกประการกับเนื้อหา คำสอนที่ปรากฏในโลกที่ 18.8 และประโยคในแต่ละโกฏิเป็นประโยคตรรกะที่ไม่ขัดแย้งกับฐานข้อมูลทางตรรกะของอิสโตเล็ต ได้ดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More