ข้อความต้นฉบับในหน้า
การศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพเบื้องต้นของพระนาอารามในคัมภีร์อรรถบทในศาสนาดังกล่าว
The Analytical Study of the Affirmative Catuskoti by Nāgarjuna in Mūlamadhyamakakārikā Scripture
รองรับภาวะนั้น^4 วิทยาวิธีแบบตุตุ-ภูกโดยสำนักมัชฌิมะจิงเกิดขึ้นเพื่อหลักฐานดังกล่าวและประกาศคำของตน
สมาธิ มหญงงค์ได้สรุปกลุ่มความเชื่ออันหลากหลายของผนังในยุคนี้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ยืนยันความมีอยู่ของสิ่งเหล่านั้นหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ เป็นการยืนยันความมีอยู่ของตัวเอง โดยเห็นว่ามีบางสิ่งที่เที่ยงแท้ต่างอยู่ตั้งแต่ อดีต ปัจจุบัน และจะดำรงอยู่ในอนาคต บางสิ่งนั้นส่งผลทันทีเพื่อสัมผัสวา-เดิมไว้ดดดกาด หรือกล่าวได้ว่าเป็นกลุ่มที่เห็นว่าส่งผลเกิดจากสาเหตุ
ตัวเดิมและถือว่า สิ่งหรือภาวะทั้งปวงเกิดขึ้นจากตัวเอง (คือ ตัวเองในปัจจุบันจากตัวเองในอดีต) กลุ่มที่คณะในเชิงยืนยันลักษณะนี้คือ สรวาลิตกา สงขยะ และสำนักธรณท่องไปยอมรับแนวคิดอัตมั่น กลุ่มที่ 2 คือกลุ่มที่มีปฏิเสธความคิดของกลุ่มแรกโดยเชื่อความมียของสิ่งหรือภาวะในปัจจุบันไม่เกี่ยวข้องกับอดีตีที่ส่งไปแล้ว ความจริงในปัจจุบันแยกขาดจากความจริงในอดีต แนวคิดของสำนักนี้คือเสาตรานิตกะ กลุ่มที่ 3 คือกลุ่มที่อาศัยการรวมทฤษฎีทั้งหลายเข้าด้วยกันได้แก่ เช่น และกลุ่มที่ 4 คือกลุ่มที่ไม่ยอมรับหลักการความเป็นเหตุเป็นผลอย่างสิ้นเชิง ได้แก่กลุ่มวัตถุนิยม เช่น จรวกและลัทธิคูหา เป็นต้น^5
มีการเชื่อกันว่าพระนาคารชุนสร้างวิธีชี้ขึ้นมาเพื่อให้แย้งกันทั้ง 4 รูปแบบโดยอ้างว่า ทั้งหมดกำลังสนับสนุนสภาวะบางอย่างซึ่งตรงข้ามกับคำสอนหลักเรื่อง “อนัตตา” ประเด็นที่น่าสนใจคือ การอ้างเพื่อปฎิเสธโดยใช้หลักการแบบวิภาษวิธีของสำนักนี้อาจถูกมองว่า ขาดจุดอ่อนของตนเองแต่ต้องการหลังกความเชื่ออื่นී ในขณะเดียวกันก็ไม่ยอมตั้งข้อเสนอของตนเองเพื่อให้สำนักอื่นตรวจสอบ บทความนี้
————————————————————————————————
4 Dhammajoti Bhikkhu (2007:145)
5 สุมาลี (2548:116-123)