ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมะธรรม
วรรณวิริยวาททางพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561
ที่เราจำได้ว่าสิ่งที่คนนี้ชื่อสมหญิงเพราะโครงสร้าง รูป้างหน้าตาและชื่อบัญญัติว่า สมหญิง แต่ในขณะเดียวกัน สมหญิงเป็นเพียงการประกอบกันขึ้นของชั้น 5 เท่านั้น นี้ถือเป็นความจริงระดับปฐมภูมิ และถือเป็นความจริงสากลเพราะมนุษย์ทุกคนประกอบขึ้นจากชั้น 5 เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัยเพียงชั้นเดียวเท่านั้น มีคุณสมบัติคือ มีความไม่เที่ยงทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ และบังคับบัญชาไม่ได้ หากปราศจากสมหญิง ซึ่งเป็นสมบัติบัญญัติ เพื่อให้เราเข้าใจได้ในเบื้องต้น เราก็สามารถเข้าถึงความจริงในขั้นปฐมภูมิได้ เพราะความจริงทั้งสองปรากฏอยู่ร่วมกัน ดังนั้นจึงกำหนดให้สรรพสิ่งทั้งไม่จริงและไม่ใช่จริงก็ไม่ใช่ จึงมีความเป็นไปได้และเป็นการป้องกันการเข้าไปกำหนดสภาพภาวะ ให้กับสรรพสิ่งอีกด้วย
สอดคล้องกับหลักปรัชญาสมุตปทาหรือปฏิจจสมุปบาทซึ่งเป็นคำสอนหลักของพระพุทธศาสนา อธิบายโดยสำนักมัยกะ เรื่องการอิงอาศัยกัน โดยสมมติว่าส ได้ยายความว่าด้วยการมีอยู่โดยอย่างอิงอาศัยกันว่า เป็นการอาศัยกันและกันเกิดขึ้น เป็นเรื่องของเหตุปัจจัยทางพระพุทธศาสนา หรือเรียกว่า “ความสมมาเสมอเชิงเหตุ” (casual regularity) โดยเชื่อว่า พระนาคารชุนประกาศคำสอนของท่าน (ตามแนวทางของพระพุทธเจ้า) โดยถึงเหตุการณ์หรือกระบวนการที่อธิบายความมีอยู่ของอีกเหตุการณ์ คำอธิบายของปรัชญาสมุตปทาหที่ตรงตามแบบของสำนักมัยกะแสดงให้เห็นหลักการ “อิงอาศัยซึ่งกันและกันเกิดขึ้น” (interdependent/relative origination) การอิงอาศัยซึ่งกันและกันอยู่ ทุกอย่างเป็นไปตามเหตุปัจจัย ไม่มีอะไรอยู่เป็นอิสระจากสิ่งอื่นได้ ไม่มีฉันดับลูกโซ่ต่อเนื่องจากความจริงที่เป็นภววิสัย แต่เป็นลำดับลูกโซ่ต่อเนื่องของเหตุการณ์หรือลาภภาวการณ์