ธรรมาธารา: การวิเคราะห์การปฏิเสธในวรรณวารี การศึกษาวิเคราะห์จตุษโกฏิประเภทยืนยันของพระนาคารชุนในคัมภีร์ มูลมัธยมกการิกา หน้า 15
หน้าที่ 15 / 31

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้สำรวจการปฏิเสธในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา โดยเสนอการวิเคราะห์ความหมายของ 'ไม่ใช่' ผ่านกรอบการอธิบายทางภาษาศาสตร์ เช่น ประเภทการปฏิเสธที่ไม่แสดงการยืนยันวาททางเลือกที่เหลือและการวิเคราะห์โครงสร้างประโยคตามไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตเพื่อเข้าใจการสื่อสารทางวรรณกรรมได้ดียิ่งขึ้น โดยมีการพูดถึงคำนิยามและความหมายที่เกี่ยวข้องในบริบทต่าง ๆ ทั้งนี้สามารถติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์การปฏิเสธ
-วรรณกรรมพระพุทธศาสนา
-ภาษาศาสตร์และวรรณกรรม
-วรรณะในสังคมไทย
-โครงสร้างประโยคในภาษาสันสกฤต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

146 ธรรมาธารา วรรณวารีวิชากรภาพพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561 ก็จะเท่ากับยอมรับทางเลือกที่เหลือโดยปริยาย เช่น ถ้าถ่าว่า "เขาไม่ใช่พรมาญ" (non-Brahmin) โดยถือคำว่า "ไม่ใช่" ว่าเป็น ปรยุตาทประโยชน์ประโยคดังกล่าวจะมีความหมายว่าถึงแม้เขาจะไม่ได้ อยู่ในวรรณะพราหมณ์ก็ตาม แต่เขาจะต้องอยู่ในวรรณะใดวรรณะหนึ่งที่เหลือ คือ กษัตริย์, แพทย์ หรือไม่ก็ครูอย่างแน่นอน ประเภทที่สอง คือ ประสัญประตีษ (prasajya-negation) หมายถึง การปฏิเสธที่ ไม่สื่อถึงการยืนยันวาททางเลือกที่เหลือ (Non-Implicational Negation หรือ Exclusive Negation) ดังนั้น เมื่อปฏิเสธทางเลือกหนึ่งจึงมิได้ หมายความว่ารับทางเลือกที่เหลือโดยอย่างใด เช่น ถ้าถ่าวว่า "เขาไม่ใช่พรมาญ" (not a Brahmin) โดยถือคำว่า "ไม่ใช่" ว่าเป็น ประสัญประตีษ ประโยคดังกล่าวจะมีความหมายแต่เพียงว่าเขา ไม่ได้อยู่ในวรรณะพราหมณ์เท่านั้น ไม่ได้มีความหมายว่า เขาอยู่ใน วรรณะใดวรรณะหนึ่งที่เหลือทั้ง 3 วรรณะ18 กฎหมาย19 ได้เสนอโครงสร้างประโยคคฤถุโกลด์โดยการอาศัยการ ประยุกต์รูปแบบการปฏิเสธของไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตได้ดังนี้ ประโยคโกฏฐิที่ 1 แทนด้วย X is P but not non ~P ประโยคโกฏฐิที่ 2 แทนด้วย X is not P but non ~P หรือ X is non ~P ประโยคโกฏฐิที่ 3 แทนด้วย X is both P and non ~P ประโยคโกฏฐิที่ 4 แทนด้วย X is neither P nor non ~P โดยได้อธิบายว่า "not" ในที่นี้คือ ประสัญประตีษ ซึ่งเป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More