ธรรมธารา - การวิเคราะห์ตรรกวิทยาในพระพุทธศาสนา การศึกษาวิเคราะห์จตุษโกฏิประเภทยืนยันของพระนาคารชุนในคัมภีร์ มูลมัธยมกการิกา หน้า 17
หน้าที่ 17 / 31

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการวิเคราะห์โครงสร้างทางตรรกวิทยาในบริบทของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะประโยคในภาวะที่แตกต่างกัน การปฏิเสธของข้อความแต่ละโศกนาฏนั้นอาจใช้การนิราวแตกต่างกัน ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการไม่ขัดแย้งกันในโครงสร้างประโยคโดย Jayatilleka และแนวทางอื่น ๆ ในการตีความตรรกวิทยาที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาเล่าเรียนเชื่อมโยงกับการกำหนดค่าความจริงในแต่ละภาวะ

หัวข้อประเด็น

-ตรรกวิทยาในพระพุทธศาสนา
-ความหมายของนิราว
-การวิเคราะห์โครงสร้างประโยค
-แนวคิดของ Jayatilleka
-การเลือกใช้สัญลักษณ์ในการตีความ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธารา วาสนา วิชชาธรรมกายพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561 ประโยคในภาวะที่ 4 นิราวเป็นสิ่งที่ดับและไม่เป็นสิ่งที่ดับก็ไม่ใช่ แทนด้วย ~ P ~ ~ (~ P) (ปฐมาทาสประติษฐ + ประสัญญาประติษฐ) เมื่อแทนค่าประโยคข้างต้นด้วยสัญลักษณ์ทางตรรกวิทยา แม้โครงสร้างด้านล่างจะข้ามพ้นจากกฎแห่งความไม่ขัดแยงและกฎการปฏิสัมพัทธ์แต่การที่กฎว่ารู้่ว่า ~ P ~ ~ (~ P) มีความหมายเป็น “นิราวไม่เป็นสิ่งที่เกิดและไม่เป็นสิ่งที่ดับ” กลับขัดแย้งกับโครงสร้างประโยคข้างต้น ผู้เขียนมีความเห็นว่ามีความเป็นไปได้ว่า การปฏิเสธของข้อความในแต่ละโศกนาฏนั้นอาจเลือกใช้การนิราวที่แตกต่างกันอยู่กับเนื้อหาในบริบทนั้นๆ ไม่สามารถกำหนดรูปแบบที่ชัดเจนได้ เพราะการกำหนดเนื้อหาคำสอนในแต่ละเรื่องอาจอาศัยบริบทที่แตกต่างกันการกำหนดให้มีโครงสร้างที่สำเร็จรูปอาจไม่ใช่แนวทางการนำเสนอของสำนักงานยะมะยะ เมื่อพิจารณาโครงสร้างประโยคอุตุฬภในหลายภาพแบบข้างต้น ผู้เขียนเห็นว่า การกำหนดให้ประโยคในภาวะที่ 1 มีค่าความจริงที่ตรงกันข้าม (contrary) กับประโยคในภาวะที่ 2 แต่ไม่ขัดแย้งกัน (contradictory) ของ Jayatilleka ก็ดี การกำหนดให้ ~ P ซึ่งไม่ได้ใช้ในความหมายที่ขัดแย้งกับ P มีสัญลักษณ์อย่างอื่น เช่น R ของ Robinson ก็ดี หรือการเลือกใช้ประสัญญาประติษฐเพื่อไม่เป็นการยืนยันทางเลือกที่เหลือของ Ruegg ก็ดี ทั้งหมดนี้มีพื้นฐานของแนวคิดการไม่เป็นขั้วตรงข้ามของข้ออ้างนำในภาวะที่ 1 ซึ่งหากเราสามารถสรุปในภาวะที่ 1 และ 2 ได้ว่าทั้งสองโครงสร้างข้ามกันแต่ไม่ขัดแย้ง ประโยคในภาวะที่ 3 และ 4 ก็สามารถจัดให้เป็นประโยคทางตรรกะได้ เนื่องจากไม่ได้ขัดกันตามกฎแห่งความคิด (Law of Thought) ซึ่งเป็นมูลฐานของแนวคิดทางตรรกวิทยา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More