บทเรียนจากการบวชในพระพุทธศาสนา สุขแบบพระ หน้า 199
หน้าที่ 199 / 239

สรุปเนื้อหา

ข้อความนี้สะท้อนถึงบทเรียนสำคัญจากการบวชในพระพุทธศาสนา โดยเน้นถึงคุณค่าที่ได้รับจากการบวช แม้จะเป็นเวลาสั้น ๆ พระพี่เลี้ยงมีความสำคัญในการดูแลพระน้องและสืบทอดพระพุทธศาสนา การบวชไม่ใช่สิ่งที่สูญเปล่า แต่เป็นโอกาสในการเติบโตทางจิตใจและการเรียนรู้ในพระธรรมคำสอน เมื่อหมดภาระย่อมมีความต้องการกลับมาบวชใหม่ เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาอย่างยั่งยืน

หัวข้อประเด็น

- คุณค่าของการบวช
- บทบาทของพระพี่เลี้ยง
- การสืบทอดพระพุทธศาสนา
- ความสำคัญของการธุดงค์
- พระน้องและการอบรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พร่าสอน ไม่ว่าจะบวชสั้นหรือยาวก็ตาม เวลาลาสิกขาไป แล้วมักจะบอกว่า บวชแล้วไม่ได้อะไร คำๆ นี้เป็นอันตราย ต่อพระพุทธศาสนาอย่างมาก จำเป็นต้องมีจ้ะ พระอาจารย์ และพระพี่เลี้ยง ทำไมครูไม่ใหญ่ถึงอยากจะได้พุทธบุตรรุ่นกองพัน กองพล ๑๐๐,๐๐๐ รูป อยู่เป็นพระพี่เลี้ยง พระพี่ชาย แม้ ยังไม่ได้เป็นพระอาจารย์ก็ตาม ก็เพื่อที่จะให้โอกาสดูแล พระน้องชายที่จะสืบศาสนทายาท ถ้าหากบุญเนกขัมม บารมี บุญเก่าได้ช่อง เขาก็จะสืบทอดอายุของพระพุทธ ศาสนา เป็นสายโลหิตแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตัวจริง ดีจริงได้ และพระน้องชายจะซาบซึ้ง ขอบพระคุณที่พระ พี่ชาย พระพี่เลี้ยงคอยดูแลประคับประคองอบรมสั่งสอน ในทุกสิ่งทุกอย่างเลย อย่างนี้จะ และแม้จะลาสิกขาไป ก็ไม่อาจที่จะพูดว่า บวชแล้ว ไม่ได้อะไร มีแต่ว่า บวชแล้วได้เยอะแยะ เสียดายว่า เรา มีเวลาบวชน้อยเหลือเกิน ขนาดบวชน้อยยังได้เยอะขนาด นี้ และใจลึกๆ ก็อยากจะหวนคืนกลับมาบวชใหม่เมื่อหมด ภาระอะไรต่างๆ แล้ว นี่เป็นสิ่งที่ดี หรือกลับเอาไปพูดต่อ ในสิ่งที่ดีๆ เพราะฉะนั้นศาสนทายาทก็จะเพิ่มขึ้น ญาติโยม ก็จะเพิ่มขึ้น แล้วมันจะมีวัดร้างได้อย่างไร วัดร้างมีแต่จะ สูญพันธุ์ และการเดินธุดงค์นี่ ทิ้งไม่ได้นะ ต้องได้ไปศึกษา เรียนรู้ อย่างน้อยรู้ว่า พระมหาเถรานุเถระในกาลก่อน Man Man จดหมายจากพระลูกชาย ๑๑๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More