อธิบายบาลีไวยากรณ์ - สมัญญาภิธานและสนธิ อธิิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ หน้า 28
หน้าที่ 28 / 30

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้ อธิบายถึงหลักการของบาลีไวยากรณ์ที่เกี่ยวกับสมัญญาภิธานและการสนธิ ว่าด้วยการแปลงนิคคหิตเมื่อมีสระและพยัญชนะอยู่เบื้องหลัง เช่น การเปลี่ยน ยอห์ เป็น ยมหิ หรือ ติ เป็น ตมห์ และมีตัวอย่างการไม่แปลงเพื่อรักษาความหมายและรูปเดิมของศัพท์ เช่น ธมฺม จเร ที่ไม่เปลี่ยนเป็น ธมฺมญจเร อย่างไรก็ตาม พยัญชนะบางตัวอาจไม่มีการเปลี่ยนแปลงได้ เพื่อรักษาโครงสร้างและความหมายเดิม แต่ก็สามารถนำมาใช้ในรูปแบบสนธิกิริโยปกรณ์ได้

หัวข้อประเด็น

-หลักการบาลีไวยากรณ์
-สมัญญาภิธาน
-การสนธิ
-นิคคหิต
-ตัวอย่างการแปลง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 26 ปุ๊-ลิงค์ เป็น ปุลลิงค์, สํ ลกฺขณา เป็น สลุลกฺขณา ง. ถ้าสระอยู่เบื้องหลัง แปลงนิคคหิตเป็น ม และท เช่น ยอห์ เป็น ยมหิ, ติ=อห์ เป็น ตมห์, ย์-อิท, เป็น ยทิท, เอต์-อโวจ เป็น เอตทโวจ. นิคคหิตอาคม นั้น เมื่อสระก็ดี พยัญชนะก็ดี อยู่เบื้องหลัง ลงนิคคหิตได้บ้าง เช่น จกฺขุ อุทปาทิ เป็น จกข์อุทปาทิ นี้สระอยู่หลัง อว-สิโร เป็น อวสิโร นี้พยัญชนะอยู่หลัง ปกตินิคคหิต นั้น ก็ดุจเดียวกันกับปกติสระและปกติพยัญชนะ คือ ควรจะทำวิธีแห่งสนธิกิริโยปกรณ์อย่างใดอย่าหนึ่ง เช่นจะ ลบหรือแปลงเป็นต้นได้ แต่ไม่ทำ คงไว้ตามรูปเดิม เช่น ธมฺม จเร แม้จะแปลงนิคคหิตเป็น ญ ให้เป็น ธมฺมญจเร ก็ได้ แต่หาแปลงไม่ คงไว้ตามเดิม เป็น ธมฺมจเร ดังนี้เป็นต้น เพราะ ปกติสระก็ดี ปกตินิคคหิตก็ดี แม้จะไม่มีวิธีทำให้แปลกไปจาก เดิมก็จริง แต่ก็เป็นวิธีต่อศัพท์ที่มีอักขระ ให้เนื่องด้วยอักขระ วิธี หนึ่ง ๆ ส่วนปกติพยัญชนะ เช่น สาธุ คงรูปเป็นสาธุ อยู่อย่าง เดิม นี้ถ้าจะว่าตามลักษณะของสนธิแล้ว ก็ไม่น่าจัดเป็นสนธิ มิได้ต่อกับศัพท์หรืออักขระอื่นดุจสนธิอื่น แต่พึงเห็นว่า ที่ท่านจัดเป็น สนธิกิริโยปกรณ์แผนกหนึ่งนั้น ก็เพราะพยัญชนะสนธิ ไม่นิยมสระ หรือพยัญชนะอยู่เบื้องหน้าหรือเบื้องปลาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More