ข้อความต้นฉบับในหน้า
เป็น มุนีจเร.
ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 21
ส่วนทีฆะสระหลังนั้น ก็ตรงกันข้ามกับทีฆะสระหน้า คือต้อง
ลบสระหน้าเสีย แล้วทีฆะสระหลัง เช่น สทฺธา–อิธ เป็น สทฺธีธ.
จ–อุภย์ เป็น จูภย์.
รสส์ นั้น ถ้าพยัญชนะอยู่เบื้องหลัง รัสสะคือทำสระเบื้องหน้า
ให้มีเสียงสั้นได้บ้าง เช่น โภวาที-นาม เป็น โภวาทินาม, แม้ เอ
แห่ง เอว ศัพท์อยู่เบื้องหลัง ก็รัสสะสระเบื้องหน้าให้สั้นดุจเดียวกัน
เช่น ยถา=เอว เป็น ยถริว, ตถา-เอว เป็น ตริว
พยัญชนะสนธิ
ในพยัญชนะสนธิ ได้สนธิกิริโยปกรณ์ ๕ คือ โลโป ๑
อาเทโส ๑ อาคโม ๑ ปกติ 9 สญฺโญโค ๑.
โลปพยัญชนะ นั้น คือ ถ้ามีนิคคหิตอยู่หน้า และสระหลังมี
พยัญชนะซ้อนเรียงกัน ๒ ตัว เมื่อลบสระหลังแล้ว ลบพยัญชนะที่
ซ้อนนั้นได้ตัวหนึ่ง เช่น เอวํ อสฺส เป็น เอวิส, ปุปผี-อสสา เป็น
ปุปผสา
อาเทสพยัญชนะ นั้น ได้แก่แปลงพยัญชนะซึ่งมีรูปอย่างหนึ่ง
ให้เป็นพยัญชนะมีรูปอีกอย่างหนึ่ง คือ ถ้าสระอยู่หลัง แปลง ติ ที่
ท่านทำเป็น ตุ๋ย แล้วให้เป็น จุจ เช่น อิติ-เอว เป็น อิจเจว๋, แปลง
ธ เป็น ท เช่น เอก-อิธ=อห์ เป็นเอกมิทาห์ (นี้ เอก อยู่หน้า),
อภิ เป็น อพฺภ เช่น อภิ-อุคฺคจฺฉติ เป็น อพฺภุคฺคจฉติ, แปลง อธิ
เป็น อชุฌ เช่น อธิ–โอกาโส เป็น อชฺโฌกาโส,