อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ อธิิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ หน้า 8
หน้าที่ 8 / 30

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาดังกล่าวแสดงวิธีการเขียนสระในบาลีตามแบบภาษามคธ และความสำคัญของฐานและกรณ์ในการศึกษาภาษา โดยให้ความสำคัญว่าสระต่างๆ ต้องวางเรียงหลังพยัญชนะอย่างถูกต้อง รวมทั้งพื้นฐานการเกิดของอักขระในแต่ละฐานที่แตกต่างกันระหว่างบาลีและภาษาไทย ข้อมูลนี้มีความจำเป็นในการเรียนรู้และใช้งานภาษาอย่างถูกต้องเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ช่วยให้การศึกษาและศึกษาเข้าใจในระบบอักษรได้ดียิ่งขึ้น

หัวข้อประเด็น

-ความเข้าใจในบาลีไวยากรณ์
-การศึกษาอักขระและสระในภาษาบาลี
-ความสำคัญของฐานและกรณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 7 ก กา นี้เรียงสระไว้ ข้างหลัง " กิ กี " " ข้างบน ข้างล่าง ข้างหน้า กุ กู เก โก แต่ตามแบบภาษามคธ สระต้องเขียนไว้หลังพยัญชนะเสมอไป เหมือนภาษาอังกฤษ. ส่วน คงอยู่หลัง อ อิ อุ ตัวใดตัวหนึ่งเสมอ จะอยู่หลัง สระอื่นจากสระ ๓ ตัวนี้ไม่ได้ แต่ตามอักษรไทยเขียนไว้ข้างบน เช่น คำว่า ติ ก็พึงเข้าใจเถิดว่า มีสระ อะ อยู่ด้วย แต่อักษรไทยท่านไม่ เขียนสระ อะ ไว้ให้ปรากฏ คงเขียนแต่พยัญชนะเฉย ๆ ก็หมาย ความว่าลงสระ อะ แล้ว เช่น สห ก็เท่ากับ สะหะ คือมีสระ อะ อยู่ด้วย ถ้าสระ อะ ที่ไม่มีพยัญชนะอาศัยท่านนิยมเขียนเพียงตัว อ เท่านั้น เช่น อห์ เท่ากับ อะห์ เป็นต้น. ฐานกรณ์ของอักขระ 5. ฐาน คือที่ตั้งที่เกิดของอักขระ กรณ์ คือที่ทำอักขระ ฐาน และกรณ์ ๒ อย่างนี้ เป็นต้นทางที่จะให้ผู้ศึกษารู้จักว่าอักขระตัวไหน เกิดในฐานไห และจะต้องใช้สิ้นให้ถูกต้องตามฐานนั้น ๆ อย่างไร เป็นอุปการะในว่าอักขระได้ถูกต้อง ชัดเจน. ฐานของอักขระมี 5 คือ ๑ คุณโจ คอ. ๒ ตาล เพดาล, ๓ มุทธา ศีรษะหรือปุ่มเหงือก ๔ ทนฺโต ฟัน, ๕ โอฏโฐ ริมฝีปาก, ๖ นาฬิกา จมูก. อักขระบางเหล่า เกิดในฐานเดียว บางเหล่าเกิดใน ๒ ฐาน ที่เกิดในฐานเดียว คือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More