ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 14
น ซ้อน น เช่น สนฺโน
ม
ม
"
"
ป
พ
ม
"
ม "
อนุกมฺปโก ม ซ้อน ผ เช่น สมผสฺโส
"
อมโพ
อมมา.
ม
"
ม " ກ ถมฺโภ
พยัญชนะ อวรรค
(ก) ย ล ส ๓ ตัวนี้ ซ้อนหน้าตัวเองได้ เช่น เสยฺโย, สลล์,
อสฺโส.
(ข) ย ร ล ว 4 ตัวนี้ ถ้าอยู่หลังพยัญชนะตัวอื่น ออกเสียง
ว ๔
ผสมกับพยัญชนะตัวหน้า เช่น วากย์ ภทโร, เกลโส, อนุเวติ
(ค) ส เมื่อใช้เป็นตัวสะกด มีสำเนียงเป็นอุสุมะ คือ มีลมออก
จากไรฟันหน่อยหนึ่ง คล้าย S ในภาษาอังกฤษ เช่น ปุริสสมา
เสนโห.
(ง) ห ถ้าอยู่หน้าพยัญชนะอื่น ก็ทำให้สระที่อยู่ข้างหน้าตน
ออกเสียงมีลมมากขึ้น เช่น พรหม, ถ้าอยู่หลังพยัญชนะ 4 ตัว คือ
ณ ณ น ม ย ล ว ฬ ก็มีเสียงเข้าผสมกับพยัญชนะนั้น เช่น ปญฺโห,
อุณโห, นหาน, อมห์, คารยฺหา, วุลหเต, อาหานํ, มุฬโห.
ข้อที่ว่า พยัญชนะทั้งปวง กึ่งมาตรานั้น ว่าตามที่ท่านแสดงไว้
โดยไม่แปลกกัน แต่เมื่อจะแสดงตามวิธีนักปราชญ์ชาวตะวันตกจัด
แบ่งไว้นั้น คงได้ความดังนี้ :-
พยัญชนะวรรคทั้งปวง เป็น มูคพยัญชนะ ไม่มีมาตราเลย คือ
เมื่อใช้เป็นตัวสะกดแล้ว ออกเสียงผสมกับพยัญชนะตัวอื่นไม่ได้ คง