การอธิบายบาลีไวยากรณ์และวิธีทำสนธิ อธิิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ หน้า 29
หน้าที่ 29 / 30

สรุปเนื้อหา

บทนี้อธิบายเกี่ยวกับการทำสนธิในภาษาบาลี โดยอิงตามคำสอนของพระมหาสมณาธิ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจวิธีการที่หลากหลายและแตกต่างจากภาษาสันสกฤต ซึ่งมีวิธีการที่เข้มงวดและกำหนดเฉพาะ รวมถึงการผสมสระในแต่ละกรณีเพื่อสร้างรูปแบบใหม่.

หัวข้อประเด็น

-วิธีทำสนธิในภาษาบาลี
-ความแตกต่างระหว่างบาลีและสันสกฤต
-การผสมสระในภาษาบาลี
-คำอธิบายตามพระมหาสมณาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 27 แบบสนธิตามวิธีส์สกฤต วิธีทำสนธิในภาษาบาลีนั้น ตามพระมหาสมณาธิบายว่า อาจ น้อมไปให้ต้องตามสนธิกิริโยปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ตนชอบใจ ถ้า ไม่ผิดแล้ว ก็เป็นอันใช้ได้ ไม่เหมือนภาษา สกฤต เพราะภาษา สํสกฤต มีวิธีข้อบังคับเป็นแบบเดียว จะยักเยื้องเป็นอย่างอื่นไป ไม่ได้ และได้ทรงเลืองวิธีทำสนธิในภาษาสสกฤตมาทรงอธิบายไว้ ข้างท้ายหนังสืออักขรวิธี ภาคที่ ๑ ซึ่งถือเอาใจความดังต่อไปนี้: ๑. ถ้าสระหน้าและสระหลัง มีรูปเหมือนกัน เอาสระทั้งสองนั้น ผสมกันเข้า เป็นทีฆะตามรูปของตน ดังนี้ :- อ กับ อ ผสมกัน เป็น อา อิ " " อิ อุ อุ อา อี " " " อา อี อู อู อี " " อ " อา อี อู ๒. ถ้าสระหน้าและสระหลัง มีรูปไม่เหมือนกัน เอาสระทั้งสอง นั้นผสมกัน เป็นรูปดังนี้:- อ กับ อิ หรือ อี เป็น เอ อา อิ อ อา " อุ อุ " " " Te อี อู อู " " " เอ โอ โอ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More