บาลีไวยากรณ์: สมัญญาภิธานและสนธิ อธิิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ หน้า 26
หน้าที่ 26 / 30

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้อธิบายหลักเกณฑ์และวิธีการของไวยากรณ์บาลี โดยเฉพาะในเรื่องของสมัญญาภิธานและสนธิ รวมถึงการใช้พยัญชนะและสระในคำต่างๆ เพื่อให้เข้าใจการใช้งานภาษาอย่างถูกต้อง โดยตัวอย่าง ได้แก่ การสนธิในคำที่เกี่ยวข้องและการเปลี่ยนแปลงของนิคคหิตในบริบทต่างๆ เว็บไซต์เพิ่มเติมสามารถดูได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

- สมัญญาภิธาน
- นิคนหิต
- ไวยากรณ์บาลี
- การสนธิ
- การศึกษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

က ประโยค - อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 24 ที่ ๒ ในวรรคของตน และพยัญชนะที่ ๓ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ 4 ใน วรรคของตน เช่น ปริ=ขย์ เป็น ปริกฺขย์, อนุ=ฉวิโก เป็น อนุจฉวิโก อธิฐาน เป็น อธิฏฐาน, สารีปุตฺต-เถโร เป็น สารีปุตฺตตฺเถโร มห=ผลานิ เป็น มหปุผลาน, มห=ฆโส เป็น มหคฆโส นิ-ฌาน เป็น นิชฌาน, อุ-ธมฺโม เป็น อุทฺธมฺโม, อุ-ภโว เป็น อุพฺภโว เป็นต้น. นิคคหิตสนธิ ในนิคคหิตสนธิ ได้สนธิกิริโยปกรณ์ ๔ คือ โลโป ๑ อาเทโส ๑ อาคโม ๑ ปกติ ๑. 9 ในโลปนิคคหิตนั้น เมื่อมีสระหรือพยัญชนะเบื้องหลัง ลบ นิคคหิตซึ่งอยู่หนึ่งได้บ้าง เช่น ตาส์-อห์ เป็น ตาสาห์, วิทูน-อคค เป็น วิทูนคุค นี้สระอยู่หลัง, อริยสจฺจาน-ทาสน์ เป็น อริยสัจุจาน ทสฺสน์, พุทฺธาน สาสน์ เป็นพุทธานสาสน์ นี้พยัญชนะอยู่หลัง อาเทสนิคคหิตนั้น ดังนี้:- ก. เมื่อมีพยัญชนะอยู่หลัง นิคคหิตอยู่หน้า แปลงนิคคหิตเป็น พยัญชนะที่สุดวรรคได้ทั้ง ๕ ตัว ตามสมควรแก่พยัญชนะวรรคที่ อยู่เบื้องหลัง ดังนี้ :- เป็น ง เช่น อลิก โต เป็น อลงุโก เอวิ=โข " เอวงุโข สํ=คโห " สงฺคโห สํ—ฆรมุติ " สงฺฆรมุติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More