พรรณแห่งการหยุดนิ่ง พรรษาวิสุทธิ์ หน้า 95
หน้าที่ 95 / 139

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายว่าการหยุดนิ่งเป็นวิถีในการเข้าถึงความรู้เกี่ยวกับภพชาติและการบรรลุธรรมสูงสุด เช่น บุพเพนิวาสานุสติญาณและจุตุปปัตญาณ การหยุดนิ่งในกลางธรรมกายช่วยให้เห็นความจริงและเส้นทางในการลดละกิเลสจนบรรลุธรรมอันสูงส่งได้ โดยไม่มีวิธีการอื่นใดที่จะทำให้บรรลุถึงจุดนี้ได้.

หัวข้อประเด็น

-บุพเพนิวาสานุสติญาณ
-จุตุปปัตญาณ
-การหยุดนิ่งในพระพุทธศาสนา
-การบรรลุธรรมสูงสุด
-การจัดการกับกิเลสอาสวะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

95 พรรณแห่งการหยุดนิ่ง บุพเพนิวาสานุสติญาณ จุตุปปัตญาณ หรืออาสักษขญาณ ก็ตามที ความรู้เหล่านี้ต้องอาศัยการหยุดนิ่งอย่างเดียว มีใครบ้างในโลก ที่ใช้ความนิคิด หรือศึกษาเล่าเรียน เอา จนเกิดความได้ว่า ภพชาติก่อน ๆ นั้นตนเองเคยเกิด เป็นอะไร เป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย อยู่ในครฏูลไหน มีความ เป็นอยู่เองอย่างไร คือรู้เรื่องราวของชีวิตในกาลก่อนนั่นได้ ความรู้เหล่านี้เป็นอนินตย ใช้มโนสมองคิดอย่างไร ก็คิดไม่ออก จนกระทั่งหยุดนิ่งอยู่ในกลางธรรมกายนันแหละ พอถูกส่วนเข้าก็เห็นเรื่องราว เห็นได้รอบตัวทุกทิศทุกทาง ความรู้จึงนึกขึ้นมาเลย อาสัยหยุดนิ่งอย่างเดียว จึงบรรลุ บุพเพนิวาสานุสติญาณ ได้ จุตุปปัตญาณ ก็เช่นเดียวกัน ภูมิของสัตว์โลกทั้ง ๓๑ ภูมินี้ ทัั้งในกามภพ รูปภพ และอรูปภพ พระพุทธองค์ ทรงรู้แจ้งแทงตลอดหมด ด้วยการหยุดนิ่งอย่างเดียว แม้กระทั้งการบรรลุอาสวะขยཏญาณ คือ การจัด กิเลสอาสวะให้หมดสิ้นไป ก็ต้องอาศัยหยุดเข้าไปเรื่อยๆ จนกระทั่งบรรลุมรรคลผลนิพพาน หยุดนี้จึงเป็นตัวสำเร็จ หยุดเป็นตัวสำเร็จ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More