ความเชื่อมโยงระหว่างอุปนิสัยและโรคหัวใจ มนต์คลายโกรธ หน้า 12
หน้าที่ 12 / 47

สรุปเนื้อหา

การศึกษาที่มหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์น ประเทศสหรัฐฯ ได้แสดงให้เห็นว่าอุปนิสัยของบุคคลส่งผลต่อสุขภาพหัวใจ โดยเฉพาะความใจร้อนซึ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงถึง 45% ในอนาคต นอกจากนี้ยังพบว่าชายหนุ่มที่มีอารมณ์ร้อนมีโอกาสเป็นโรคหัวใจวายถึง 4 เท่ามากกว่าชายที่ใจเย็น คำแนะนำจึงคือการควบคุมอารมณ์เพื่อป้องกันโรคหัวใจในอนาคต ข้อมูลจากน.สพ.ไทยรัฐ

หัวข้อประเด็น

-อุปนิสัยที่ส่งผลต่อสุขภาพหัวใจ
-ความดันโลหิตสูง
-อารมณ์และสุขภาพ
-การทำวิจัยเกี่ยวกับโรคหัวใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มัณฑลสายโกฎ 5 20 ปี ในเรื่องอุปนิสัย ปริมาณไขมันในเลือด ความดันโลหิต น้ำหนักตัว อัตราส่วนของเอวกับสะโพก การดื่มสารและสมุนไพร เป็นต้น สรุปผลได้ว่า การมีมัณฑลโกฎรากหรืออาอุณใครต่อใคร จะบอกให้รู้ว่า เจ้าจะเป็นโรคหัวใจในช่วงหน้าได้แน่นอนยิ่งกว่าการสมุรุ การมีไขมันในเลือดสูงหรือปัจจัยเสี่ยงอย่างอื่นทั้งหมดที่เคยคิดเอาเอง (น.สพ.ไทยรัฐ ๒๒ พ.ย. ๒๕๕๕) จากการเฝ้าติดตามกลุ่มอาสาสมัครวัยรุ่น 3,moo คน เป็นเวลถึง 15 ปี คณะนักวิจัยมหาวิทยาลัยนอร์ทเทิร์น สหรัฐ ได้สรุปผลการวิจัยว่า วัยรุ่นที่อายุร้อน ชอบแสดงอาการภูร่าวอยู่ตลอดเวลา เมื่อเข้าสู่วัยกลางคนอายุประมาณ 30–50 ปี สาย พบว่า เป็นโรคความดันสูง มากกว่าวัยรุ่นที่ใจเย็นถึงร้อยละ 45 และยิ่งมีความรู้สึกโผงผางมากขึ้นเท่าใด ก็ยิ่งเสี่ยงมากขึ้นเท่านั้น สรุว่า ความใจร้อนหุนหันพลันแล่นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคความดันสูงในอนาคต (น.สพ.ไทยรัฐ ๒๘ ต.ค. ๒๕๕๖) นักวิจัยของสหรัฐฯ พบว่า ชายหนุ่มที่อุ่นเอียวหวุดหวิดง่าย ถึงแม้ไม่มีมฤกทธิ์ที่ป่วยเป็นโรคหัวใจมาก่อนก็แน่ในวันที่จะมีอาการหัวใจวายสูงมากถึง 4 เท่า เมื่อเทียบกับชายหนุ่มวัยเดียวกันที่ใจเย็นและคุมอารมณ์ได้ดีกว่า และหนุ่มมีโอกาสหัวใจวายจนตายก่อนวัยอันควร มากถึง 3 เท่าของหนุ่มใจเย็น คำแนะนำสำหรับหนุ่มมีโกรธหรือ หาว่ามีความโกรธ เพราะจากการศึกษาก่อนหน้านี้พบว่า คนไข้โรหัวใจที่รู้จักยังความโกรธให้บางบางจจะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More