ข้อความต้นฉบับในหน้า
Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (1) 73
ได้รับการแปลในสมัยราชวงศ์ฉินตะวันออก แต่ไม่ปรากฏชื่อผู้แปล
ไม่เพียงแต่ฉันประเดิมมีความซับซ้อนมากขึ้นไปอีก เมื่อคัมภีร์รจนาย SBh ถูกระบว่าเป็นงานประพันธ์ของพระปรมาภิไธย กล่าวคือ
ก. คัมภีร์ 十八部論疏 (Shiba bu lun shu) ที่คล้ายเป็นคัมภีร์อรรถาธิบาย + 八部論 แต่ได้สูญหายไป
ข. คัมภีร์ 部執論疏 (Buzhi lun lun) ที่คล้ายเป็นคัมภีร์อรรถาธิบายคัมภีร์ 部執異論 ถกะว่ามเป็นของพระปรมาภิไธย11 แต่ว่าได้สูญหายไป
ในประเด็นของเรื่องคัมภีร์อรรถาธิบาย SBh ทั้งสองนี้ Funayama (2005)(2008) กล่าวไว้คล้ายกับเป็นคัมภีร์เดียวกัน เพียงแต่เรียกชื่อแตกต่างกัน12
8 Masuda (1925: 5-6). คำว่า "Ch'in dynasty (352-431 A.D.)” ตามที่ Masuda ได้กล่าวไว้ ควรจะเป็น "ราชวงศ์ฉินตะวันออก"
9 T55: 273a28-274a9.
10 Radich (2012: 76-78).
11 真諦三藏部執論疏第三卷云(T45: 268b20-21), 真諦三藏部執論疏第一卷云(T65: 353b2).
12 ในคัมภีร์ 法華義疏 (Fahua yi shu) ได้กล่าวถึงคัมภีร์ 八部論疏 ที่อธิบายชื่อของพระกัษยปะ (Skt. Káśyapa) ดังนี้
八部論疏云. คือต้อง应迎葉波. 迎葉此云 dath. 波此云饮. 合而言之故云饮光. 饮是其姓. 上古仙人名爰饮光. 以此仙人身有光明能饮诸光今不復現. 今此迎葉是饮光仙人种. 即以饮光为姓. 从姓立名前饮光也. (T34: 459b5-9)
ลาก้างต้นคัมภีร์ 八部論疏 ได้อรรถาธิบายคำว่า 迎葉波 (Jiashebo) และแปลเป็นภาษาเจนจิณาว่า 飲光 (Yinguang) ซึ่งคำว่า 飲光 นั้นตรงกับคำศัพท์เดียวกันที่ปรากฏในคัมภีร์部執異論 ไม่ใช่คัมภีร์ 八部論
ลำดับต่อมาคัมภีร์ 法華義疏 ได้กล่าวถึงพระปรมาภิไธยว่า มือนำกล่าวว่า 目連 (Mulian; pāli: Moggallāna, Skt. Maudgalyāna) ดังนี้