ความหมายและความสำคัญของคำว่า 'สมเด็จพระพุทธเจ้า' Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์(1) หน้า 24
หน้าที่ 24 / 37

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความหมายและความสำคัญของคำว่า 'สมเด็จพระพุทธเจ้า' ที่มาจากคำว่า 'พระพุทธ' และ 'ภควัต' โดยใช้ข้อเสนอจากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ ซึ่งมีการแปลและการตีความที่น่าสนใจ จุดสำคัญคือความแตกต่างระหว่างคำสองคำนี้ ตั้งแต่ต้นกำเนิดมาในคัมภีร์ภาษาสันสกฤต ผู้เขียนได้เสนอการเพิ่มคำว่า 'สมเด็จ' เพื่อเน้นการยกย่องพระพุทธเจ้า นอกจากนี้บทความยังมีการอ้างอิงถึงเนื้อหาและความหมายในบริบทต่างๆ ได้อย่างมีนัยสำคัญ

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสมเด็จพระพุทธเจ้า
-ความสำคัญของพระพุทธและภควัต
-การตีความคำในทางศาสนา
-ความแตกต่างระหว่างคำว่า 'พระพุทธ' และ 'ภควัต'

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำว่่า "สมเด็จพระพุทธเจ้า" (སྲིད་དབང་ལྡན་སྡུད་) มาจากศัพท์คำว่า "พระพุทธ" (buddha) และ "ภควับ" (bhagavant) จะแพบเห็นได้บ่อยครั้งในการใช้คำทั้งสองนี้คู่กันในคัมภีร์พระที่ใช้ภาษาสันสกฤต สำหรับคำแปลนั้น ผู้เขียนชอบสำนวนการแปลของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ (ประกอน 2557: 83, 90) เป็นการส่วนตัว จึงได้นำมาปรับใช้โดยเพียงแค่เพิ่มคำว่า "สมเด็จ" เข้าไปเพื่อเน้นการยกย่องในภูมิของ AKB คือ AKV ที่จดโดยท่านโ-มิด ได้เสนอประเด็นนี้น่าสนใจเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างคำว่า "พระพุทธ" และ "ภควัต" ดังนี้ vinayavibhāšākaraś tu catuṣkoṭikāṁ kurvanti. asti buddho na bhagavān. pratyekabuddhah svayambhuvād buddhā iti sākate vaktum. na tu bhagavān. апи rūpṇadāṇādisaṁbharāt vat. yo hi māhātmyavaṇ sa bhagavān ucate. asti bhagavān na buddhah. carambhaviko bodhisattvah paripūrṇadānipāramitatvat [Tib. 3b] anabhiṣaṁbuddhatvaṁ ca. asty ubhayaṭhaṁ ity ubhavyāsanam. (AKV: 3⁵-11)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More