การวิเคราะห์คำแปลของ Samayabhedo paracanacakra Samayabhedoparacanacakra คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์(1) หน้า 9
หน้าที่ 9 / 37

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอการวิเคราะห์คำแปลของคัมภีร์ Samayabhedo paracanacakra โดยจำแนกความหมายและความสำคัญในบริบทของภาษาจีนโบราณและการเชื่อมโยงกับพระวินัยของนิยายธรรมคุปตะ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างพระพุทธเจดและท่านคุ มาริ๊ชีพในกระบวนการแปล. คัมภีร์ทิชฌามคะที่กล่าวถึงยังเปรียบเทียบกับฉบับบาลีเพื่อเสนอความเข้าใจที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น. เอกสารนี้มีการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่มีชื่อเสียงเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์ที่มีคุณภาพ.

หัวข้อประเด็น

- Samayabhedo paracanacakra
- การแปลคัมภีร์พระพุทธศาสนา
- ความสำคัญของพระพุทธเจด
- ภาษาและวรรณกรรมพุทธศาสนา
- การศึกษาคัมภีร์ภาษาจีนโบราณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

Samayabhedo paracanacakra: คำแปลพร้อมเชิงอรรถวิเคราะห์ (1) 75 ต้น ๆ ของท่านที่ทักษะด้านการแปลอยู่ในช่วงก้าวหน้า และหากพิจารณาในแง่ภาษาผู้เขียนสนับสนุนวา ต้นฉบับของคัมภีร์ ฮั 8 บทัม ไม่ใช่ภาษาสันสกฤตแบบแผนแต่เป็นภาษาในตระกูลปรากฏ ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่า มีความเกี่ยวเนื่องกับทฤษฎีช พเพยของท่านคุ มาริ๊ชีพ คือ พระพุทธเจด (佛陀耶舍) 14 ได้ทรงจำคัมภีร์ เช่น พระวินัยของนิยายธรรมคุปตะ (四分律), คัมภีร์ทิชฌามคะ (Dirghagama, 長阿含經) 15 และถ่ายทอดให้พระ仏念 (Fo nian) แปลเป็นภาษาจีนโบราณออกมา16 which มีนักวิชาการสนิย จนว่า พระวินัยของนิยายธรรมคุปตะ และคัมภีร์ทิชฌามคะเป็น เป็น "สันติแปลผู้ยิ่งใหญ่" ที่ได้รับการยกย่องในประวัติศาสตร์งานแปลคัมภีร์พระพุทธศาสนาในประเทศจีน เราพบคำยื่อต่อเนื่องในสารานุกรมพุทธศาสนา ฉบับภาษาญี่ปุ่น(望인信ї「仏教大辭典」) และฉบับของได้หวัง (佛光大辭典) แต่ไม่พบหลักฐานวา “สันติแปลผู้ยิ่งใหญ่” นี้ในคัมภีร์รฐุมใด ๆ (Funayama 2014: 52). 14 ตามที่คัมภีร์ 出二藏記集 ได้บันทึกไว้ พระพุทธเจดเป็นผู้ที่กำเนิดในวรรณระพรหมณ ณ แคว้นคิระ-คันฉะ (瓜寧) เมื่ออายุได้สามปี ก็เข้าสู่ภาวะพรหมจรรย์ พออายได้สิบสี่สิบปี จึงรับอุปสมบท หลังจากนั้นได้ออกเดินทางไปยังนะฮะจู รับหน้าที่เป็นพระครูให้การศึกษา-dongครรสัญญาแห่งแคว้นนี้ และในแคว้นนี้เอง ท่านได้พบกับท่านคุ มาริ๊ชีพ และได้รับท่านคุ มาริ๊ชีพเป็นอิศย หลังจากนั้นได้ออกเดินทางไปยัง ญี่ปุ่น และเข้าสู่วงอาณา(長安) เมื่อปี ค.ศ. 408 ต่อจากนั้นได้ร่วมกับท่าน 仏念 (Fo nian) แปลพระวินัยของนิยายธรรมคุปตะ (四分律), คัมภีร์ทิชฌามคะ (Dirghagama, 長阿含經) จนเสร็จสิ้นแล้วในปี 413 จึงเดินทางกลับมาดูภูมิที่แคว้นคิระ-คันฉะ (Karashima 1994: 6-7) 15 คัมภีร์ทิชฌามคะ (Dirghagama, 長阿含經) ตรงกับคัมภีร์บาลีคือ ทิชฌานะnikāya สำหรับคัมภีร์ทิชฌามคะฉบับภาษาจีนนี้ (長阿含经) ได้รับการสนับสนุนวา เป็นคัมภีร์ของนิยายธรรมคุปตะ โครงสร้างคัมภีร์แบ่งออกเป็นสัดส่วน* หากเปรียบเทียบกับฉบับบา ลีดามะ “ชื่อพระสูตร” และในคัณฑ์ (uddāna) ของคัมภีร์ผู้อื่น(มูล)สว่างตวิณ สามารถสรุปได้ดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More