ข้อความต้นฉบับในหน้า
Samayabhedoparacanacakra: คำแปลพร้อมเชิงวิเคราะห์ (1) 97
หากพิจารณาในกรณีการแปลมีเหตุผล ฉบับ Pg มีความน่าสนใจที่สุด กล่าวคือ
ในฉบับ Pg ได้แปลเป็นภาษาจีนว่า 外邊宗 ในกลุ่มที่สอง และแปลกลุ่มแรกเป็นคำว่า 大國宗
ซึ่งผู้เขียนคิดว่ามีความเป็นไปได้มากกว่ายฉบับที่เหลือทุกฉบับ ทั้งในด้านการแปล และใน
เชิงความเป็นจริงทางด้านประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
แต่ในบทความนี้ ผู้เขียนใช้ฉบับเทียบเป็นฉบับหลัก จึงขอแปลตามต้นฉบับไปก่อน
ส่วนประเด็นการแบ่งกลุ่มนั้น ฉบับเทียบและฉบับจีน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มเหมือน
กัน แต่มฉบับ X, Pg แบ่งออก เป็น 4 กลุ่มเหมือนกัน ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก Lamotte
(1988: 276-277)
71 สำหรับในประโยคที่เดี๋ยวกันนี้ ฉบับจีนทั้งสามฉบับได้แปลดังนี้
X: 是佛法大衆初破。謂四衆共議大天五事不同,分兩部。一大衆部。二上座 部。四衆者何。一龍象衆。二邊衆。三多聞衆。四大德衆
Pm: ถ้าเป็นยุค大衆破衆。破散大衆有四種。一大國衆。二邊衆。三多聞衆。四大德衆. 此四大衆。共說外道所立五種団緣 ... 分成兩部。 一大衆部。二上座弟子部.
A: 甦時大僧別部異法。時有比丘。一名耆。二名因緣。三名多聞。說有五處
以教衆生 ... 此是佛從始生二部。一調摩阿僧祇。三調他輾羅 ...
จากข้างต้น หากพิจารณาคำแปลทั้งฉบับรวมทั้งฉบับเทียบด้วยแล้ว อาจเกิดความเข้าใจได้ลองแบ่ง เป็น 1. การเสนอดั่งกล่าวให้เกิดส่งผลสืบสาน และหลังจากนั้นกลายเป็นองกาย 2. มีสงฆ์สมาชิกอยู่แล้วในสมัยพระเจ้าสุขา และเกิดการวิวาทะเรื่องวัตถุทุ่ง ทำให้แตกเป็นสองนัดย
ในกรณีเช่นนี้ ควรศึกษาเทียบเคียงดำเนินในรายละเอียดส่วนนี้ด้วย เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลให้ชัดเจนขึ้น แต่ด้วยเป็นประเด็นที่ค่อนข้างละเอียดอ่อน และอาจใช้เนื้อที่มากเกินไปกว่าจะเป็นเชิงอรรถ ผู้เขียนขอไว้อื่นนะในโอกาสที่จะสมควรต่อไป