บทนำสู่พระพุทธศาสนาและการเรียกขานในยุคแรก การกำเนิดนิกายสรวาสติวาท (1) หน้า 4
หน้าที่ 4 / 35

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการเรียกขานและชื่อของอาจารย์ในพระพุทธศาสนายุคแรก โดยเฉพาะการศึกษาจากงานของศาสตราจารย์ Mitomo Kenyo แห่งมหาวิทยาลัยริวโซ ที่มอบให้แก่วารสารธรรมราชา บทความนี้ยังเน้นการสำรวจคัมภีร์ต่างๆ ทั้งฝ่ายเหนือและใต้ของพระพุทธศาสนา เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าใจประเด็นที่มีความยากลำบากในการศึกษาในที่มา ทั้งนี้ยังขอบคุณผู้ที่ให้คำแนะนำในกระบวนการการแปลและเรียบเรียง เพื่อให้ความรู้และข้อมูลที่มีค่าสำหรับผู้อ่าน

หัวข้อประเด็น

-การเรียกขานในพระพุทธศาสนา
-ความทุกข์ในโลก
-การศึกษาโดยใช้คัมภีร์
-บทความจากศาสตราจารย์ Mitomo Kenyo
-การศึกษาเกี่ยวกับวิจารณ์พระพุทธศาสนาในไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

1. บทนำ¹ ชื่อภายในในพระพุทธศาสนายุคแรกกินายในอินเดียมีการเรียกขานแตกต่างกันออกไปตาม ชื่อพื้นทีที่นักกายานนั้นเผยแผ่ อยู่ชื่อผู้นำที่เป็นอาจารย์ชื่อ according to morality ที่นามความเป็นกาย ในกรณีหลัง หนึ่งในนั้นคือภายในสวดติวาท ซึ่งตั้งชื่อด้วยการยอมรับการมีอยู่จริงของสรรพสิ่ง] ทั้งในยุคพระพุทธศาสนาดั้งเดิมได้ปฏิสถานอยู่จริงของโลก เพราะโลกเต็มไปด้วยความทุกข์ ดังนั้น จึงทำให้เกิดข้อสงสัยว่า ในยุคแรกของนิภายนี่เรียกนิภายในตัวเองว่า "สรวาสติวา" (ภาษาสันสกฤต, ภาษาบาลี: สัพพติวา, ภาษาจีน: 說一切有部) หรือไม่ ¹ บทความนี้แปลและเรียบเรียงมาจากบทความภาษาญี่ปุ่นชื่อว่า คำ—"ทุกข์" ของ ศาสตราจารย์กิตติคุณ Mitomo Kenyo แห่งมหาวิทยาลัยริวโซ ซึ่งได้มอบให้ทางวารสารธรรมราชาเป็นผู้ถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาไทย ทางวารสารจึงนำมาสงในหมวดบทความพิเศษ เพื่อให้ผู้อ่านได้ศึกษา ซึ่งการศึกษเกี่ยวกับประเด็นนี้ ทางวงวิจารณ์การพุทธศาสตรบ้านเรายังมีน้อยมาก หรือเรียกว่า แทบไม่ปรากฏให้เห็น ดังนั้น จึงเป็นโอกาสสำหรับผู้กระหายใครรู้ในการศึกษา เนื่องจากบทความนี้มีความยาวและเป็นการศึกษาโดยสำรวจคัมภีร์ที่แตกต่างมากมายทั้งทางพระพุทธศาสนาฝ่ายเหนือ-ใต้ ซึ่งเป็นที่ไม่คุ้นเคย จงขอแบ่งลงเป็น 2 ตอน นอกจากนั้น เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้อ่าน จะเพิ่มการอธิบายคำศัพท์หรือประเด็นที่ไม่คุ้นเคยให้เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลา ในกรณีที่มีข้อมูลจะใส่ (ผู้แปล) กำกับไว้ ท้ายที่สุดนี้ ขอขอบคุณ รศ.ดร. มูฮาม่า มานะวงศ์ ที่ได้ให้คำแนะนำต่างๆ (เมธี พิทักษ์ธรรม ผู้แปล) (เชิงอรรถ อ่านต่อหน้าถัดไป)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More