ธรรมนิยมและการตีความอาสะ 4 ในพระพุทธศาสนา การกำเนิดนิกายสรวาสติวาท (1) หน้า 24
หน้าที่ 24 / 35

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจแนวคิดเกี่ยวกับอาสะ 4 ซึ่งมีการตีความในต่าง ๆ คัมภีร์ของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในคัมภีร์นิภายสรวาสติวา ที่ได้แนะนำเกี่ยวกับอาสะ 4 ซึ่งเป็นแนวคิดหลัก แต่ก็มีความเห็นที่แตกต่างในรายละเอียดของอรรถาธิบายเป็นอโษะ 4 และโยคะ 4 อีกด้วย นอกจากนี้ยังมีการอภิปรายเกี่ยวกับสัญญาเวทอิดถกถามี ที่ช่วยให้เราได้เห็นภาพกว้างขึ้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของอาสะ 4 ในบริบทของพระพุทธศาสนา รวมถึงมุมมองที่เกี่ยวข้องกับโลกะและโลกุตตะในพระธรรมคำสอน.

หัวข้อประเด็น

-อาสะ 4
-สัญญาเวท
-พระพุทธศาสนา
-นิภายวิภาขา
-สรวาสติวา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมนิยม วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 4 ปี 2560 ทางคัมภีร์ของนิภายสรวาสติวา เช่น คัมภีร์วิธีธรรมมาหาวิภาขา28 ได้แนะนำเกี่ยวกับ อาสะ 4 ที่เป็นแนวคิดของนิภายวิภาขา แต่ สรวาสติวาเห็นแย้งเกี่ยวกับเรื่องอาสะ 4 นี้โดยอรรถาธิบายเป็นอโษะ 4 (四暴恨) และโยคะ 4 (四恚)29 แต่เนื้อหามีความเหมือนกับอาสะ 4 และไม่พบประเด็นแย่งเถียงว่าด้วยเรื่อง อาสะ 4 ไม่เป็นอามนิจของ อาสะ 2. สัญญาเวทอิดถกถามี สองกถาในคัมภีร์รัตถกว่าตูอรรถากล่าวไว้ดังนี้ (1) สัญญาเวทอดินิโรสมาติ…มีแต่ความดับขั้นถึง 4 ดังนั้น[สัญญาเวทิดินิโรสมาติ] นี้จึงไม่ใช่ทั้งโลกะและโลกุตตะ แต่มากเหตุวาทั้งหลายเห็นว่า[สัญญาเวทิดินิโรสมาติ]ไม่ใช่โลกะ ดังนั้น จึงเป็นโลกุกตะ30 28 T27: 247b; T28: 192c 29 โอะแ 4 (四暴恨) และโยคะ 4 (四恚) ได้แก่ (1) กาม, (2) ภพ, (3) ทุรฺ, (4) อเวิชชา ในประเด็นเนื้อหาไม่มีความต่างกัน เพียงแต่ชื่อเรียกต่างกันเท่านั้น ระหว่างคำว่า โยะะ และโยคะ (ผู้แปล) 30 Sato (1991: 708); Kv-a: 155; อภิ.เปญด.อ. 81/456 (แปล.มมร.2537); 81/420 (แปล.มมร.2556)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More