ข้อความต้นฉบับในหน้า
ทรงธรรม
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 4 ปี 2560
พวกเขาคือ พวกเหตุว่าทั้งหลายพิ จารณาว่า เนื่องจากไม่มีการแบ่ง [เป็นสองระดับระหว่างปุจฉาและพระอริยะทั้งหลาย] เช่นนี้ สัญญาเวทิตินิรมาณสมาบัติ จึงข้องเกี่ยวกับสัญญสัตว์ [เป็นความเข้าใจผิดของพวกเหตุว่าทั้งหลาย] 39
ทางคัมภีร์ของนิรภาวสวดิวา เช่น คัมภีร์อิทธิธรรมมหาวิภาษ ได้จำแนกความแตกต่างระหว่าง อสัญญสมาบัติ และนิรภสมาบัติไว้ อย่างชัดเจน กล่าวคือ อสัญญสมาบัติจะบรรจุสิ่งได้โดยง่ายจาก สัญญาส่วนในนิรภสมบัติจะเป็นการดับสัญญาและเวทนา เพราะฉะนั้นปุจฉาสามารถบรรอสูสัญญาสมาบัติเข้าสู่ผลแห่งสัญญา ผลพระอิทธิอรรถวูบผลโดยเข้าสู่ชั้นสูงสุดของอรูปภาพ 40
นอกจากนี้ คัมภีร์อิทธิวิธรรมฤทธิยมาหุทัยศาสตร์ (阿毘曇心論) ก็จำแนก ความแตกต่างระหว่างสองสมาบัตินี้เช่นเดียวกัน 41 แต่มีความแตกต่างกับ คัมภีร์อิทธิธรรมมหาวิภาษในด้านของผล กล่าวคือ เมื่อผู้เป็นเสยะได้บรรลุนิรภสมาบัติที่เป็นดังวัจนะ จะหลุดพ้นเป็นกายสักขี 42 ด้วยวิโมกข์ ลำดับที่ 9 ที่เป็นลำดับสุดท้าย 43
39 Satō (1991: 713); Kv-a: 157; อิทธิ.ปัจ.ฉ. 81/466 (แปลมจอ.2537); 81/430 (แปลมม.2556)
40 T27: 776a
41 T27: 830c
42 กายสักขีเป็นพระอรหันต์บุคคลประเภทหนึ่ง แต่ที่กล่าวนี้เป็นแนวคิดของนิภาย สวดาสิตวาทตามคัมภีร์อิทธิธรรมมหาวิภาษ ซึ่งทางมีการวิจัยค้นคว้าเปรียบเทียบในประเด็นเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากในด้านวิชาการ (ผู้แปล)
43 T27: 819b