การศึกษาเกี่ยวกับนิกายสรวาสติวาท การกำเนิดนิกายสรวาสติวาท (1) หน้า 5
หน้าที่ 5 / 35

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความหลากหลายของนิกายต่างๆ ในพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งนิกายสรวาสติวาท ซึ่งมีคำเรียกที่แตกต่างกันตามบริบทและตำนาน รวมถึงการอภิปรายเกี่ยวกับคำสอนหลักหรือมติธรรมที่เป็นหัวข้อสำคัญที่พัฒนามาจากนิกายต่าง ๆ ตั้งแต่อดีต นอกจากนี้ ยังมีการวิเคราะห์ความหมายและการใช้คำศัพท์ในภาษาบาลีที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยให้เข้าใจแนวคิดได้ดียิ่งขึ้น

หัวข้อประเด็น

-นิกายสรวาสติวาท
-มติธรรม
-ศัพท์บาลี
-การวิเคราะห์คำสอน
-พุทธศาสนาในบริบทต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นอกจากนั้น นิกายยังมีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ ตามตำนานต่าง ๆ เช่น เหตุวาทิน (因論) วิถีวาทิน (分別説部) มรุทตกะ (Muruntaka) และ -คำว่าสิ่งอาจเป็นชื่อของนิกายนี้มา แต่เดิม ทว่า ภายหลังได้มีการจัดระเบียบเนื้อหา ของธรรม ก่อเกิดลักษณะเฉพาะตนที่โดดเด่น ทำให้ทั้งฝ่ายตนเองและฝ่ายอื่นเรียกว่า “สรวาสติวาท” หรือไม่ ในลำดับถัดไปจะสำรวจรายชื่อทั้งหลายที่กล่าวมาแล้วข้างต้นในหลักฐานต่าง ๆ (เสียงอรรถ คำจากหน้าที่แล้ว) 2 คำว่า มติธรรม คือ คำสอนหลักของนิยยต่าง ๆ หรืออาจเรียกว่า หัวข้อธรรมหลักของนิยต่าง ๆ ซึ่งเป็นคำที่ให้การวิวาทลงไป ดังนั้น คำว่า มติธรรม ในที่นี้ผู้เปล่งมาจึงคำสอนหลักหรือหัวข้อธรรมเฉพาะนิย นั้น ๆ ในยุคพระพุทธศาสนาที่แตกเป็น 18 นิกายนเป็นต้นมา (ผู้แปล) 3 นักวิชาการต่างประเทศคงจะเรียกชื่อถึงนิยวว่า สรวาสติวาทิน ซึ่งผู้แปลสันนิษฐานว่า เป็นคำศัพท์ที่ปรากฏในศาสนศัพท์ จึงเรียกตามชื่อที่ปรากฏในหลักฐานว่า สรวาสติวาทิน เช่นนี้สัมภาษณ์ต่อมา แต่เพื่อเป็นการป้องกันความสับสน และอ่านย่อความสะดวกแต่ผู้นำ ผู้แปลจึงใช้คำว่า สรวาสติวาท ตลอดทั้งบทความนี้ (ผู้แปล) 4 คำว่าสิทธิถฏาว ปรากฏในคัมภีร์อภิปราย ส่วนคำว่าสิทธิถฏาว ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ถาวตถอดอรรถกถา สำหรับคำว่่า สิทธิถฏาว เป็นคำที่นิยมใช้ในวิชาการพุทธศาสตรบ้านเรา เนื่องจากอรรถกถาบลิ compos มีคำอ่านที่แตกต่างจากฉบับสมามคัมภีร (PTS) ในกรณีนี้ไม่ทราบอย่างแน่ชัด คำว่า “สิทธิถฏิกะ” จากคำว่า ๑ สิทธิถฏะ+อิทฺ หรือ ๒ สิทธิถฏิ+กะ ซึ่งความหมายของ ๑ และ ๒ จะมีความหมายต่างกันมาก เนื่องจากเป็นประเด็นที่ต้องวิเคราะห์อย่างละเอียด จึงขอนำเสนอในโอกาสต่อไป ในบทความนี้จะขอใช้คำศัพท์ว่า “สิทธิถฏิวา” ตามภาษาบาลีฉบับสมามคัมภีร ซึ่งผู้เขียนคือ Mitomo ให้เป็นฉบับ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More