ข้อความต้นฉบับในหน้า
ที่ปรึกษา
พระครูวิเทศปัญญาภรณ์ (สมบุญ สมมาปุญโญ)
พระมหา ดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ
พระวิษณุ ปญฺญาทีโป
พระอารักษ์ ญาณารกุโข
พระสมุห์อำานวยศักดิ์ มุนิสกุโก
บรรณาธิการบริหาร
พระสมบัติ รก ตจิตโต
กองบรรณาธิการ
พระดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล, พระตรีเทพ ชินจุกุโร,
พระสนิทวงศ์ วุฑฒิวํโส, พระมหาธีระ นาถธมฺโม,
พระมหาจตุรงค์ จตฺตมโล, พระมหาเอก จนฺทูปโม
พระธนรินทร์ สิริธโร, พระวิรัช คุณงฺกโร
พระสิปปภาส พฺรหมฺสโร, พระบริบูรณ์ ธมฺมวิชโช
ผศ.สุภาศิริ พะหูชนม์, วรวรรณ ถนอมพงษ์,
วันชัย ภัทรโกมล, วินิช พันธุ์วิริยรัตน์,
สุธิดา จินดากิจนุกูล, รัดเกล้า ลิ่วเฉลิมวงศ์,
น้ำผึ้ง พุ่มมาลี, ระพีพรรณ ใจภักดี, เมธินี จอกทอง
อรพรรณ วีระกูล, พรทิพา พรหมแสงใส,
กําพล แก้วประเสริฐกุล, บุษบา ธาราสมบัติ
กนกพร เทศนา, พรชนก คู่รัตนา,
รัตนา อรัมสัจจากูล, ประวีร์ ธรรมรักษ์,
ผ่องศรี ทานาแซง, เทวี สุขศิริ
บรรณาธิการสารสนเทศ
วรรณภา พลกลาง
ฝ่ายภาพ
ศูนย์ภาพนิ่งและบรรณาธิการภาพ
ฝ่ายศิลปกรรม
อพงศ์ ลีลพนัง, กองพุทธศิลป์
วัลลภ นิลถนอม, ชัยชนะ กิตติโสภาพันธุ์,
ภัทรา ศรีวสุธา, ศุภวิชฐ์ เหล่าเลิศพงษ์,
สุพัตรา ปัญญาแสง, พีระ แสงงาม,
สิริพันธุ์ สมาหารพันธุ์, สุภชา ศรีโสภิต
ฝ่ายโฆษณา
ปราณี ชัยผดุง ๐๘-๖๗๗๑-๒๒๖๘
ศิริพร ฉะรัตน์
ฝ่ายสมาชิก
อรุณี พลกลาง ๐๘-๑๓๐๖-๕๓๙๓
โรงพิมพ์
บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด
จัดทําโดย
มูลนิธิธรรมกาย
วารสาร “อยู่ในบุญ”
เป็นวารสารเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ
ในพระพุทธศาสนาเป็นรายเดือน
มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้
๑.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน
ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
และเกิดกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อเข้า
ถึงธรรมะภายใน
๒.เพื่อปลูกฝังคุณธรรมแก่ประชาชนทุก
เพศ ทุกวัย ทุกอาชีพและทุกระดับการศึกษา
๓.เพื่อถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธ
ศาสนา ให้ง่ายแก่การนำไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
๔.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน
สังคมเป็นคนดีที่โลกต้องการ
๕.เพื่อเป็นสื่อกลางในการสืบทอดอายุ
พระพุทธศาสนาให้เป็นที่พึ่งแก่ชาวโลกสืบไป
การบวช..เป็นเพศภาวะเดียวที่รองรับอรหัตผลได้
มีบางคนมักพูดว่า “ไม่ต้องบวช..ก็เป็นคนดีได้” ซึ่งความคิดนี้
ก็ถูก แต่ถูกไม่หมด เพราะการเป็นคนดีนั้นมีหลายระดับ แต่ถ้า
ให้ดีที่สุด ก็ต้องหมดกิเลสเข้านิพพาน
ดังนั้น การบวชเป็นพระจึงมีความจำเป็น แม้จะเป็นคนดี
อยู่แล้ว ก็ต้องมาขัดเกลากิเลส เพื่อให้ตัวเองเป็นคนดียิ่ง ๆ ขึ้นไป
เนื่องจากภาวะนักบวชเป็นเพศภาวะที่เอื้อต่อการทำความบริสุทธิ์กาย
วาจา ใจ ให้เกิดขึ้นกับตัวเองมากที่สุด เพราะต้องรักษาศีลมากถึง
๒๒๗ ข้อ และมีสภาพที่เหมาะต่อการปฏิบัติธรรม ทำสมาธิเจริญ
ภาวนา มีโอกาสบรรลุธรรมขั้นสูง จนหมดกิเลสเข้าถึงนิพพานได้
ง่ายกว่าเพศคฤหัสถ์
มีบางคนถามว่า “แล้วคนธรรมดา ๆ
ที่ไม่ได้บวชไม่มีสิทธิ์
บรรลุอรหัตผลหรือ?” ตอบว่า “มี แต่ไม่ง่าย” อีกทั้งถ้าบรรลุแล้ว
อย่างไรก็ต้องรีบบวชทันที เพราะถ้าไม่บวชก็จะต้องนิพพานภายใน
๗ วัน เพราะเพศภาวะคนธรรมดาๆ ไม่สามารถจะรองรับคุณธรรม
และคุณวิเศษของอรหัตผลได้ อุปมาเหมือนกับเอาก้อนหินหนัก ๆ
ไปวางบนฟอนหญ้าคาเล็ก ๆ ฟ้อนหญ้าคาเล็กๆ ย่อมจมลงไป
เพราะกำลังไม่พอ เพศภาวะผู้ครองเรือนก็เช่นกัน เป็นเพศภาวะที่มี
กำลังทราม หรืออ่อนกำลัง เป็นเพศที่ไม่สงบ เป็นทางมาแห่งธุลี
ดังตัวอย่างของยสกุลบุตร อุตติยคฤหบดี เสตุมาณพ พระนาง
เขมาเถรี อุคคเศรษฐีบุตร ที่บรรลุอรหัตผลในเพศคฤหัสถ์แล้ว
ก็ต้องบวชทันที ส่วนสันตติอำมาตย์ และพระเจ้าสุทโธทนะ เมื่อ
บรรลุอรหัตผลในเพศคฤหัสถ์แล้ว เลือกที่จะนิพพานทันที
ดังนั้น...การบวชจึงเป็นเพศภาวะที่ดีที่สุด ที่ง่ายต่อการทำ
พระนิพพานให้แจ้ง หรือหากบรรลุอรหัตผลแล้ว ก็เป็นเพศภาวะ
เดียวที่สามารถรองรับอรหัตผลได้.....