บาลีไวยกรณ์: สมัญญาภิธาและสนธิ บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ หน้า 1
หน้าที่ 1 / 28

สรุปเนื้อหา

หนังสือเล่มนี้นำเสนอวิธีการแสดงไวยากรณ์ของตันติภาษา โดยเฉพาะการศึกษาไวยากรณ์บาลีซึ่งจัดอยู่ใน 4 หมวด ได้แก่ อักขรวิธี สนธิ นาม และกิริยาศัพท์ นอกจากนี้ยังเปรียบเทียบกับไวยากรณ์ของภาษาสันสกฤตและอังกฤษ โดยมีการอธิบายลักษณะและการใช้คำในแต่ละหมวดหมู่ สิ่งนี้ช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจที่ดีขึ้นเกี่ยวกับโครงสร้างและการใช้งานของบาลีภาษา พร้อมทั้งเนื้อหาที่ชัดเจนในการเขียนและการพูดในภาษาต่าง ๆ.

หัวข้อประเด็น

- อักขรวิธี
- สนธิ
- นาม
- กิริยาศัพท์
- เปรียบเทียบกับสันสกฤต
- การศึกษาไวยากรณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ - หน้าที่ 1 คำนำ วิธีแสดงไวยากรณ์ของตันติภาษา (ภาษามีแบบแผน] นั้น นักปราชญ์ทั้งหลายได้จัดไว้เป็นหมวดหมู่ละม้ายคล้ายคลึงกัน จนให้ สันนิษฐานได้ว่า ภาษาเหล่านี้คงจะมีอริยกภาษาเป็นมูลเดิม จะขอ กล่าวย่อ ๆ แต่ภาษาที่ข้าพเจ้าได้ทราบอยู่บ้างเล็กน้อย คือบาลีภาษา ๑ สันสกฤตภาษา ๑ อังกฤษภาษา ๑ ในภาษาทั้ง ๓ นั้น ในบาลี ภาษา นักปราชญ์ท่านจัดไวยากรณ์เป็นหมวดๆ กัน 4 หมวด ดังนี้ อักขรวิธี แสดงอักษรพร้อมทั้งฐานกรณ์เป็นต้น ๑ สนธิ ต่ออักษร ที่อยู่ในคำอื่น ให้เนื่องเป็นอันเดียวกัน ๑ นาม แจกชื่อคน, สัตว์, ที่, สิ่งของต่าง ๆ, สัพพนาม แจกศัพท์ ที่สำหรับใช้แทนนามที่ ออกชื่อแล้ว เพื่อจะได้ไม้เรียกซ้ำให้รกโสต ๒ อย่างนี้พร้อมทั้งลิงคะ วจนะ วิภัตติ ๑ สมาสย่อนามตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป ให้เป็นบทเดียวกัน ๑ ตัทธิต ใช้ปัจจัยแทนศัพท์ให้น้อยลง มีเนื้อความได้เต็มที่ แจกกิริยาศัพท์ พร้อม วจนะ บุรุษ วิภัตติ กาล บอก กัตตุ กรรม และภาพ ๑ กฤต ใช้ปัจจัยเป็นเครื่องกำหนดรู้สาธนะหรือ อุณณาทิ มีวิธีใช้ปัจจัยคล้ายกฤต แต่มักเป็นปัจเจกปัจจัย โดยมาก ๑ การก ๑ การก แสดงลักษณะของคำพูด ๑ ถ้านับรวมทั้ง ฉันทลักษณะที่ท่านจัดไว้ เป็นหมวดหนึ่งต่างหาก มิได้สงเคราะห์เข้า ในมูลไวยากรณ์ก็เป็น ๑๐ หมวด. กาล ๑ ๑ อาขยาต ในสันสกฤตภาษา ก็ไม่รู้จะต่างจากบาลีภาษา ต่างกันเล็ก น้อย ในสันสกฤต มีวจนะเป็น ๓ คือ เอกวจนะ คำพูดถึงคง หรือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More